22324 : โครงการบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อมาเลเรียในไก่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.พิชณิชา นิปุณะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/10/2567 15:09:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงห้วยเป้า อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ ประจำปี 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. วศิน  เจริญตัณธนกุล
รองศาสตราจารย์ ดร. วาที  คงบรรทัด
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง พิชญา  แสนอุบล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน  ชื่นบาล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพานิชย์ และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ 4.1 สร้างกลุ่มนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านบริการวิชาการ งานวิจัย และนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.19 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ 4.1.3) ผลักดัน ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานวิจัยตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตามแผนแม่บทการวิจัยที่สอดคล้องกับทิศทางมหาวิทยาลัยและของชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โรคมาเลเรียในไก่ทำให้ไก่เนื้อและไก่ไข่มีอัตราป่วยและตายร้อยละ 80-90 โรคนี้พบบ่อยในไก่ที่เลี้ยงแบบปล่อยในประเทศไทยและประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบบ่อยในฤดูฝน เป็นโรคที่นำโดยยุงที่ติดเชื้อโปรโตซัว โรคนี้เกิดจากการที่ยุงที่มีเชื้อดังกล่าวกัดไก่และปล่อยเชื้อเข้ากระแสเลือด ทำให้เม็ดเลือดแดงแตก ซีด หากไม่ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องและการรักษาที่เหมาะสมและทันเวลา ไก่มักจะตาย ไก่อาจจะแสดงอาการป่วยชัดเจนหรือมีเพียงอาการซึมเท่านั้นก็ได้ ทำให้วินิจฉัยได้ค่อนข้างยาก ถ้าไก่ที่ติดเชื้อมีเพียงอาการซึมลงแล้วตาย เมื่อชันสูตรซากจะพบหัวใจโต ตับและม้ามโตและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหรือดำ แต่ถ้าไก่แสดงอาการป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึม กินอาหารน้อยลง หายใจหอบ ตัวซีด ท้องบวม มีเลือดซึมในตา ค่อยๆผอมลงและตาย ไก่ไข่ที่ป่วยด้วยโรคนี้จะมีอัตราการไข่ลดลง ไข่มีขนาดฟองเล็กลง เปลือกบางและแตกง่าย การตรวจพบเจอโรคนี้ในช่วงเริ่มต้นของอาการป่วยและให้การรักษาจะให้ผลการรักษาที่ดี ไก่สามารถหายเป็นปกติได้ภายใน 3-4 วัน การวินิจฉัยโรคมาเลเรียในไก่ในปัจจุบันทำโดยการย้อมฟิล์มเลือดบางด้วยสี Wright’s giemsa ซึ่งมีราคาถูก ทำได้รวดเร็ว แต่มีโอกาสเจอเชื้อน้อย และต้องทำโดยผู้ชำนาญการเท่านั้น ในปัจจุบันห้องปฏิบัติการวิจัยเพื่อส่งเสริมภูมิต้านทานในมนุษย์และสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้พัฒนาเทคนิค polymerase chain reaction (PCR) ที่สามารถตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อโปรโตซัว Plasmodium gallinaceum ที่ก่อโรคมาเลเรียในไก่ได้ ซึ่งเทคนิคนี้มีความไวสูง ประหยัดเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถตรวจได้หลายตัวอย่างพร้อมกัน สามารถให้บริการตรวจตัวอย่างเลือดให้แก่เกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดใกล้เคียง และสามารถรายงานผลกลับให้เกษตรกรได้ภายใน 3 วันทำการหลังจากที่ได้รับตัวอย่าง โครงการนี้สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ เรื่อง โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงห้วยเป้า อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ด้านโครงการพัฒนาด้านการเกษตร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 เพื่อให้เกษตรกรทราบสถานะการติดเชื้อมาเลเรียของไก่ในฝูง
7.2 ให้ความรู้เรื่องโรคมาเลเรียในไก่ รวมถึงการป้องกันและการรักษา
7.3 ให้การรักษาโรคมาเลเรีย เพื่อลดอัตราการป่วยและตายของไก่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัดกิจกรรมโครงการ
KPI 1 : - ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : - ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : - จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : - ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : - ร้อยละของอัตราการป่วยและตายของไก่ที่ลดลง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : - ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 7 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัดกิจกรรมโครงการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : อบรมโรคมาเลเรียในไก่ วิธีการป้องกัน ควบคุมและรักษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2568 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วศิน  เจริญตัณธนกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วาที  คงบรรทัด (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิงพิชญา  แสนอุบล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จัดภายนอกมหาวิทยาลัย
จำนวน 50 คน ๆ ละ 50 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จัดภายนอกมหาวิทยาลัย
จำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 1 คืน คืนละ 800 บาท/ห้อง จำนวน 4 ห้อง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท 1 คน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22400.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : ตรวจวินิจฉัยโรคมาเลเรียในไก่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2568 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วศิน  เจริญตัณธนกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 1 คน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คน ๆ ละ 200 บาท 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น
- ชุดเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมและไพรเมอร์ จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 5,000 บาท
- หลอดเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม เป็นเงิน 900 บาท
- ผงอะกาโรส/น้ำยา TBE/น้ำยา ethidium bromide เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,900.00 บาท 0.00 บาท 15,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ/CD/ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : รักษาโรคมาเลเรียในไก่ กิจกรรมที่ 2 : ตรวจวินิจฉัยโรคมาเลเรียในไก่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2568 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วศิน  เจริญตัณธนกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 1 คน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ด๊อกซี่ซัยคลิน คลอโรควิน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการกับการเรียนการสอน : โครงการนี้ส่งเสริมการบูรณาการความรู้ร่วมกันของนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งศึกษาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (10302210) เกี่ยวกับการสกัดและการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมด้วยเทคนิค PCR และนักศึกษาในคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ต้องฝึกปฏิบัติการจับบังคับสัตว์และการเจาะเก็บตัวอย่างเลือดสัตว์ ซึ่งนักศึกษาทั้งสองคณะจะได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติงานร่วมกันในภาคสนามและในห้องปฏิบัติการ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล