22319 : การขยายผลและพัฒนาเทคโนโลยีตู้ฟักไข่อัจฉริยะ ด้วยเทคโนโลยี Internet of Things
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวณัจฉรียา ชัยประภา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/10/2567 15:49:10
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2567  ถึง  01/04/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกร และสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่อำเภอจอมทอง จำนวน ..30 .คน นักศึกษาสาขาวิศวกรรมฟาร์มอัฉจริยะและนวัตกรรมเกษตร และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัล และนวัตกรรมการจัดการ ระดับปริญญาโท จำนวน 10 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายแผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน งบประมาณประจำปี 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วัชรนันท์  ทองมา
รองศาสตราจารย์ ดร. ฤทธิชัย  อัศวราชันย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ระพีพันธ์  แดงตันกี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU-IC ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68 MJU-IC เป้าประสงค์ 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด 68 MJU-IC 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU-IC ส่งเสริมและผลักดันผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบัน (พ.ศ.2564) ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) อย่างรุ่นแรงทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทยทำให้เกิดปัญหาในหลากหลายด้านโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจนับว่าตกอยู่ในกระแสโลกาภิวัตน์เกิดการแข่งขันในทุกมิติ โดยเฉพาะการประกอบอาชีพที่เกิดการปรับเปลี่ยนและแข่งขันอย่างเต็มรูปแบบโดยเฉพาะอาชีพหลักของคนไทยคือเกษตรกรรมที่เน้นการผลิตแบบพออยู่พอกินยังนับว่ายังไม่เพียงพอต่อการสร้างรายได้ สร้างอาชีพ และสร้างความมั่นคงของชีวิต ดังนั้นการส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต เน้นการเพิ่มมูลค่าโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างเศรษฐกิจชุมชนที่จะก่อให้เกิดการทำกินสร้างรายได้เสริมเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัวจึงเป็นทางเลือกหนึ่งซึ่งเป็นทางออกให้กับคนในสังคมชนบท จากผลการสำรวจที่น่าสนใจ พบว่า จุดอ่อนที่สำคัญประการหนึ่งของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ยังนับว่าไม่เพียงพอที่จะมีรายได้สร้างความมั่นคงให้ชีวิตได้นั่นเอง โดยเฉพาะการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ เช่น ไก่พันธุ์พื้นเมืองและไก่พื้นเมืองลูกผสมในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โครงการวิจัยเพื่อเพิ่มอัตราการเกิดของลูกไก่สร้างเป็นต้นแบบ และplatform ตู้ฟักไข่อัจฉริยะ โดยพัฒนาวงจรในการควบคุมอัตโนมัติที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีขายในประเทศไทย ทำให้เกษตรกรเกิดความเข้าใจปัจจัยที่มีผลต่ออัตรากรเกิดลูกไก่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถดำเนินธุรกิจในรูปแบบ Social Enterprise โดยเน้นด้านการกระจายรายได้สู่หน่วยผลิตในกลุ่มสังคม คำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) ความเป็นธรรม การเอื้อเฟื้อแบ่งปัน )Sharing) และการกระจายข้อมูลข่าวสาร ความรู้และวิทยาการด้วยการพัฒนาด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Innovation)ดังนั้นสามารถทำให้เกิดรูปแบบธุรกิจที่มีศักยภาพในการเติบโตในลักษณะ High Growth Rate หรือศักยภาพทางการตลาดสูงมีแผนการเพิ่มทุนเพื่อการเติบโตอย่างก้าวกระโดด ทั้งในด้านเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงไก่ ปัจจุบันกลุ่มวิสาหกิจฟาร์มอำเภอใจได้นำเทคโนโลยีฟักไข่อัจฉริยะ โดยปัจจุบันได้เพิ่มเทคโนโลยี Internet of Things เข้ามาช่วยควบคุมกำลังการผลิต และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการฟักไข่ได้มากกว่าร้อยละ 80 ซึ่งมากกว่าอัตราการเกิดของตู้ฟักไข่ที่มีขายในปัจจุบัน โดยโครงการวิจัยดังกล่าวถูกนำมาใช้ถ่ายทำ รายการอธิการชี้ช่องทางรวย ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ส่งผลให้มีผู้สนใจจำนวนมาก เนื่องจากเป็นโครงการวิจัยที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง แต่ยังไม่ถูกนำไปขยายผลได้ เนื่องจากขาดความเข้าในการพัฒนาตู้ฟักไข่อัจฉริยะ ให้กับเกษตรกร และนักศึกษา อันสอดคล้องกับโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ และ เศรษฐกิจพอเพียงทฤษฎีใหม่ แบบจําลองโมเดลนวัตกรรมที่เหมาะสมต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีตู้ฟักไข่อัจฉริยะ สำหรับฟักไข่ ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายในการขยายตลาดการจำหน่ายลูกไก่ในระบบออนไลน์ เพื่อเพิ่มช่องทางรายได้ให้แก่กลุ่มเกษตรกร
รายได้ให้กลุ่มวิสาหกิจหลังการดำเนินโครงการวิจัย เพิ่มขึ้น 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับรายได้ก่อนดำเนินโครงการวิจัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากไก่ท้องถิ่นของกลุ่มของเกษตรกรเขตพื้นที่ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยเครื่องฟักไข่ที่ใช้เทคโนโลยี Internet of Things ที่สามารถฟักลูกไก่ มีอัตราการเกิดมากกว่าร้อยละ 80
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น หลังการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 3 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ผลิตภัณฑ์ 3
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
95 ร้อยละ 95
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นต่อการรับเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
ผลผลิต : องค์ความรู้ในการพัฒนาและสร้างเครื่องฟักไก่ใช้เทคโนโลยี Internet of Things ที่เหมาะสมกับเกษตรกร
ผลผลิต : เกิดต้นแบบการพัฒนา เพื่อยกระดับเกษตรกรในชุมชน
ผลผลิต : เกิดแผนการสร้างการตลาดออนไลน์ขายผลิตภัณฑ์จากไก่ท้องถิ่นของกลุ่มของเกษตรกรเขตพื้นที่อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และสามารถขยายไปสู่ชุมชนใกล้เคียง และชุมชนที่มีความต้องการในลักษณะเดียวกัน
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากไก่ท้องถิ่นของกลุ่มของเกษตรกรเขตพื้นที่ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยเครื่องฟักไข่ที่ใช้เทคโนโลยี Internet of Things ที่สามารถฟักลูกไก่ มีอัตราการเกิดมากกว่าร้อยละ 80
ชื่อกิจกรรม :
การจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีตู้ฟักไข่อัจฉริยะ สำหรับฟักไข่ ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 01/04/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วัชรนันท์  ทองมา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฤทธิชัย  อัศวราชันย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมประชุมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 40 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมประชุมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 40 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา,แฟ้มเอกสาร,กระดาษ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20100.00
ผลผลิต : องค์ความรู้ในการพัฒนาและสร้างเครื่องฟักไก่ใช้เทคโนโลยี Internet of Things ที่เหมาะสมกับเกษตรกร
ชื่อกิจกรรม :
การจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายในการขยายตลาดการจำหน่ายลูกไก่ในระบบออนไลน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 01/04/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วัชรนันท์  ทองมา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 30 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 1200 บาท 1 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา,แฟ้มเอกสาร,กระดาษ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24900.00
ผลผลิต : เกิดต้นแบบการพัฒนา เพื่อยกระดับเกษตรกรในชุมชน
ผลผลิต : เกิดแผนการสร้างการตลาดออนไลน์ขายผลิตภัณฑ์จากไก่ท้องถิ่นของกลุ่มของเกษตรกรเขตพื้นที่อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และสามารถขยายไปสู่ชุมชนใกล้เคียง และชุมชนที่มีความต้องการในลักษณะเดียวกัน
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล