22317 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายกฤษณโชติ ประชาโรจน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/11/2567 14:54:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  250  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย : 1. กลุ่มเป้าหมายหลัก เป็นกลุ่มผู้ปลูกลำไย และนักศึกษา เข้าฝึกอบรม จำนวน 50 คน 2. เกษตรกรผู้ปลูกลำไย นักเรียน นักศึกษา นักศึกษาฝึกงาน และผู้สนใจทั่วไป จำนวน 200
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ฟาร์มมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่่ได้รับจัดสรร มีหน่วยนับเป็นบาท 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย กฤษณโชติ  ประชาโรจน์
นาย สถาพร  ฉิมทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ยึดถือแนวทางปฏิบัติทางด้านการเกษตรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในด้านเกษตรกรรมยั่งยืน หรือเกษตรธรรมชาติ เป็นแนวปฏิบัติในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในไร่นาให้เกิดประโยชน์โดยสามารถลดอันตรายจากใช้สารเคมีในไร่นา เช่น การใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชหมุนเวียน ในปัจจุบัน มีการทดสอบวิธีการเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่ศูนย์สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี จังหวัดเพชรบุรี ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขา หินซ้อนฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ศูนย์การศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ฯ เป็นต้น คาดว่าในอนาคตวิธีการดังกล่าวจะได้รับการยอมรับในหมู่เกษตรกรและ ผู้บริโภคในวงกว้างขึ้น(https://www.moac.go.th/king-dev_agri) ในการขับเคลื่อนงานโครงการพระราชดำริ สรุปประเด็นนโยบายด้านการเกษตร ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยให้ ทุกหน่วยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ความสำคัญ และร่วมบูรณาการในการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการพระราชดำริ ให้นำโครงการพระราชดำริ ไปต่อยอด ขยายผลในพื้นที่ใกล้เคียงหรือพื้นที่อื่น ๆ ในการแก้ไขปัญหาให้กับ เกษตรกร และ ให้นำหลักการของโครงการพระราชดำริไปใช้ในการแก้ไข ปัญหาให้กับเกษตรกรในระดับครัวเรือน (สป.กษ.) ในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร โดย จัดตลาด เศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ กิจกรรม ขยายผลเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ และยังส่งผล กิจกรรมเผยแพร่ขยายผลนวัตกรรมเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณ พระอัจฉริยภาพ และสืบทอด พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร ด้านการเกษตร โดยจัดกระบวนการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ภูมิปัญญา นวัตกรรมเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง ในงานตลาดเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งสามารถจัดส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติเกษตรเศรษฐกิจ พอเพียง และการนำองค์ความรู้ด้านการเกษตรอินทรีย์ แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่มาเรียนรู้และเข้าชมเข้าถึงองค์ความรู้ ทั้งนี้เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณและพระอัจฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ เบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทางด้านการเกษตร นวัตกรรม การเกษตรและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (พกฉ.) (https://www.doa.go.th/th/wp-content/uploads) สืบเนื่องการผลิตพืชของไทยในปัจจุบันยังต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิตของต่างประเทศ ซึ่งถ้ามองในแง่ของการช่วยให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด ก็ถือว่ายังไม่มีสิ่งใดมาตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในจุดนี้ได้ แต่ถ้ามองในแง่ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานตลอดจนผู้บริโภคแล้วก็ไม่มีใครปฏิเสธได้ถึงผลกระทบดังกล่าว แต่ปัญหาอยู่ที่เกษตรกรเองยังมีความเชื่อมั่นต่อปัจจัยการผลิตดังกล่าว ประกอบกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันที่เงินเป็นปัจจัยที่ 5 ในการดำรงชีวิต ทำให้เกษตรกรต้องพึ่งพาสิ่งที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว การผลิตไม้ผลเพื่อการค้าในระบบการผลิตเกษตรเชิงพาณิชย์ ในรูปแบบเกษตรอุสาหกรรม ส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพาสารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช และการบำรุงรักษาเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิต เกษตรกรยังดำเนิินการปรัับเปลี่่ยนระบบการผลิิตพืช ที่่ยีงต้้องพึ่่งพาการใช้้ปุ๋๋ยเคมีีและสารเคมีีกำจััดศััตรููพืืช ซึ่งงานต่อการจัดการ จนทำให้ลืมนึกถึงผลกระทบที่จะตามมาในระยะยาวทั้งคุณภาพชีวิต และผู้บริโภค ถึงแม้ลำไย จะเป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่สำคัญ อีกพืชหนึ่งภายในประเทศ แต่ก็ยังมีพื้นที่ปลูกอยู่ทางจเขตภาคเหนือของไทย ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย ลำปาง แพร่ น่าน และพะเยานอกจากนี้ยังมีการปลูกในภาคตะวันออก เช่น อำเภอสอยดาวและโป่งน้ำร้อน จังหวัดนนทบุรี ภาคกลางเช่น จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช่น จังหวัดเลย หนองคาย และนครพนม ภาคใต้เช่น พัทลุง สงขลา และนครศรีธรรมราช เป็นต้น มีผลทำให้การแพร่กระจายของลำไยไปยังจังหวัดต่างๆแทบทุกจังหวัด ในปัจจุบันมีเกษตรกรชาวสวนจำนวนมากไม่น้อยประสบปัญหากับภาวการณ์ขาดทุน ทั้งๆที่ต้นลำไยติดผลเต็มต้น ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตที่ได้คุณภาพต่ำประกอบกับต้นทุนการผลิตสูง และสารเคมีตกค้างผลผลิตสูง ปัญหาดังกล่าวมักเกิดขึ้นในปีที่ลำไยออกดอกในฤดูกาลปกติ คือเก็บเกี่ยวเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ทำให้การผลิตออกสู่ตลาดในช่วงเวลาเดียวกัน ส่งผลให้ต้องจำหน่ายผลผลิตในราคาต่ำ นอกจากนี้ยังขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยว ซึ่งปัญหาดังกล่าว ที่เกิดขึ้นสามารถเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกร และเป็นแนวทางการผลิตลำไยอินทรีย์ที่มีคุณภาพื ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิต เช่น การใช้โดรน การตัดแต่งลำไยทรงเตี้ย การผลิตลำไยคุณภาพด้ายเทคนิคการตัดแต่งผลผลิต การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง เพื่อลดต้นทุนการผลิต มหาวิทยาลัยยังได้ลงนามความร่วมมือกับ GTZ และศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จัดตั้งหน่วยบริการจัดการสวนลำไย (Farm management) ซึ่งจัดขึ้นเพื่อปรึกษาและเป็นตัวกลางในการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรรายย่อยที่สนใจ การปรับปรุงการผลิตลำไยในพื้นที่ต่างๆ ทั้งนี้จึงมีการพัฒนาฟาร์มและต้นแบบแปลงสาธิตให้เป็นแหล่งดูงาน รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งเป็นแนวทางแก้ไขให้เกษตรกรสามารถผลิตลำไยให้มีคุณภาพ และปลอดภัยต่อผู้บริโภค และยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่ดีขึ้นต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับบริการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์
2 เพื่อเป็นต้นแบบการผลิตลำไยที่มีคุณภาพ และการสร้างรายได้ ยั่งยืน
3 เพื่อสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. เกษตรกรชาวสวนลำไยเขตอำเภอสันทราย และผู้ที่สนใจทั่วไป และนักเรียนนักศึกษา เข้าอบรม จำนวน50คน 2. เกษตรกรชาวสวนลำไยเขตอำเภอสันทราย นักเรียนนักศึกษาฝึกงาน และผู้ที่สนใจทั่วไป จำวน200 คน 3.ต้นแบบฐานเรียนรู้การผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์1ฐานนักเรียนนักศึกษา
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระยวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้และฝึกงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 50 50 คน 200
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : จำนวนผู้รับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 8 : ร้อยละของการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ต้นแบบฐานเรียนรู้เทคนิคการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์ 1 ฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 10 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0319 0.0131 ล้านบาท 0.045
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. เกษตรกรชาวสวนลำไยเขตอำเภอสันทราย และผู้ที่สนใจทั่วไป และนักเรียนนักศึกษา เข้าอบรม จำนวน50คน 2. เกษตรกรชาวสวนลำไยเขตอำเภอสันทราย นักเรียนนักศึกษาฝึกงาน และผู้ที่สนใจทั่วไป จำวน200 คน 3.ต้นแบบฐานเรียนรู้การผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์1ฐานนักเรียนนักศึกษา
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกฤษณโชติ  ประชาโรจน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสถาพร  ฉิมทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,500.00 บาท 9,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 2400 บาท ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 1200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเชื้อเพลิง เช่น น้ำมัน และเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 19,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ปากกา ดินสอ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ขาดงบประมาณสนับสนุนโครงการ
ต้นแบบฐานเรียนรู้เทคนิคการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์ เกิดจากสภาพภูมิอาการ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง เกิดจากภัยธรรมชาติ เช่นเกิดฟ้าป่า เกิดพายุลม ฝน และการระบาดของโรคแมลง
การประชาสัมพันธ์ อาจไม่ทั่วถึงกลุ่มเกษตรกรที่สนใจ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดขอรับงบ สนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน
1.จัดทำแนวกันไฟป่า และปลูกไม้กันลม 2.ใช้สารชีวภัณฑ์ฉีดพ่นป้องกันโรค แมลง
จัดทำสื่อประ ชาสัมพันธ์ และผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ ให้ทั่วถึงกลุ่มเกษตรกร และเข้าติดต่อกลับกลุ่มเกษตรโดยตรง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
พืชสวน สาขาไม้ผล คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พส291-1 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 1,2,3,4/พส302-2 ไม้ผลเบื้องต้น/พส416-1 ไม้ผลเขตกึ่งร้อน/พส350-1 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์ไม้ผล
ช่วงเวลา : 01/07/2567 - 28/02/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล