22316 : โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าหม้อห้อมของวิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติบำบัด
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/10/2567 8:36:37
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
17/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติบำบัด
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน  รักประยูร
อาจารย์ ดร. นิติกาญจน์  นาคประสม
อาจารย์ ดร. เกศินี  วีรศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68-2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68-2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

“สังคมสูงวัย” คือ สังคมที่มีสัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป มีการคาดการณ์ไว้ว่าในปี พ.ศ. 2564 สัดส่วนของจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นไปถึงร้อยละ 20-30 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม ความจริงแล้วคนส่วนใหญ่ในสังคมยังเข้าใจว่า การรับมือกับเรื่องนี้กลับเป็นเพียงการจัดการกับเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุ ทำให้การแก้ปัญหาหลักมักจำกัดอยู่เพียงแต่กลุ่ม ๆ เช่น การจ่ายเบี้ยยังชีพคนชรา การจัดสวัสดิการต่าง ๆ แต่กลับไม่ได้เชื่อมโยงเข้ากับการเตรียมการตั้งแต่ยังอยู่ในวัยทำงาน จึงเป็นสถานการณ์ที่เราจำเป็นต้องกลับมาสนใจจริง ๆ เกี่ยวกับสังคมผู้สูงอายุในประเทศของเรา รวมทั้งการส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของชาติด้วย การเพิ่มทักษะและการจัดหางานให้เหมาะสมกับแรงงาน จะช่วยเพิ่มความสามารถในการหารายได้ และยกระดับประสิทธิภาพของแรงงานในระยะยาว ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการฝึกอบรมแรงงานสูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพที่หลากหลายมากขึ้น และมีการคุ้มครองทางสังคมให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้เช่นกัน การยกระดับคุณภาพชีวิต : เราสามารถวางแผนตั้งแต่เนิ่น ๆ โดยภาครัฐก็มีส่วนสำคัญในการวางระบบโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ รวมถึงการจัดสรรรายได้และรายจ่ายอย่างสมดุล โดยเฉพาะรายได้หลังวัยเกษียณ ผ่านการตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระองค์จึงทรงมุ่งพัฒนาให้ประชาชนมีอาชีพที่มั่นคง สามารถพึ่งตนเองได้ ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งที่ว่า ...."การที่จะแจกสิ่งของหรือเงินแก่ราษฎรนั้น เป็นการช่วยเหลือชั่วคราว ไม่ยั่งยืน การที่จะให้ประชาชนอยู่รอดได้ก็คือ การให้อาชีพ" ....พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2542 กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ 6 ตำบลบ้านถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ได้รวมกลุ่มกันจัดตั้ง “วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติบำบัด” ก่อตั้งเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2562 มีสมาชิกจำนวน 26 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สูงอายุมาร่วมกันทำกิจกรรมต่าง ๆ และส่งเสริมให้เกิดการฝึกทักษะฝีมือ เพื่อให้เกิดรายได้แก่สมาชิกในกลุ่ม โดยจะทำการผลิต ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม เช่น ผ้าปัก กระเป๋าสาน การย้อมผ้าหม้อห้อม การทำดอกไม้ เป็นต้น ม อย่างไรก็ตาม จากการสัมภาษณ์ นางธีรนาฎ ไหล่ทุ่ง ประธานกลุ่ม เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2566 พบว่า กลุ่มยังต้องการที่จะพัฒนาฝีมือในการตัดเย็บ ออกแบบให้ตรงกับความต้องการของตลาด โดยเฉพาะงานประเภทของฝากของที่ระลึก ที่เก็บกุญแจ กุญแจ กระเป๋าจากเศษผ้าหม้อห้อม เนื่องจากในช่วงเกษียณอายุราชการและช่วงเทศกาลปีใหม่ จะมีลูกค้าสอบถามเข้ามาเพื่อซื้อสินค้าดังกล่าว แต่ทางกลุ่มยังประสบปัญหาในเรื่องของการตัดเย็บ การออกแบบ รวมถึงวางแผนการตลาดเพื่อให้สามารถผลิตสินค้าขายได้ตลอดปี อีกทั้งจะทำให้เกิดรายได้แก่กลุ่มและสมาชิกผู้สูงอายุ โดยงานดังกล่าวทุกคนสามารถนำกลับไปทำต่อที่บ้านหรือมารวมกลุ่มกันได้ ซึ่งจะทำให้สามารถบำบัดโรคซึมเศร้าและสร้างรายได้ให้กับกลุ่มผู้สูงอายุได้ ดังนั้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนธรรมชาติบำบัด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าหม้อห้อม กำหนดราคาและวางแผนการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม โดยโครงการจะสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20/สร้างอาชีพให้กับผู้สูงอายุ รวมถึงในด้านสังคมจะสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม สูงอายุ/สร้างเครือข่ายร่วมกัน/มีหน่วยงานจากภาครัฐในท้องถิ่นสนับสนุน อีกทั้งผลกระทบต่อ ด้านสิ่งแวดล้อม จะก่อให้เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเนื่องจากมีการนำเศษผ้ามาต่อยอดทำผลิตภัณฑ์ ทำให้ลดการเกิดขยะจากการตัดเย็บ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และวางแผนการตลาดผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าหม้อห้อมของกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลบ้านถิ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าหม้อห้อมของวิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติบำบัด
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0317 0.0083 ล้านบาท 0.04
KPI 3 : รายได้ของผู้เข้าร่วมอบรมเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 4 : ร้อยละความรู้ของผู้เข้าร่วมในการออกแบบตัดเย็บและวางแผนการตลาด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าหม้อห้อม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : จำนวนผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าหม้อห้อมที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 แบบ 3
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 11 : จำนวนแผนการตลาด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แผน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าหม้อห้อมของวิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติบำบัด
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบและตัดเย็บผลิตภัณฑ์จากผ้าหม้อห้อม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 5 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 16,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 16,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษบรุ๊ฟ ดินสอ ยางลบ ที่หนีบกระดาษ เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 31700.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการวางแผนการตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 30 คนๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,100.00 บาท 0.00 บาท 5,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล