22285 : ศูนย์ต้นแบบชีวภัณฑ์ชุมชน : การส่งเสริมการผลิตชีวภัณฑ์ป้องกันโรค และศัตรูพืชในพื้นที่ตำบลสันป่าเปา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน ฉัตรสูงเนิน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/10/2567 17:01:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2567  ถึง  30/06/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ประชาชนที่สนใจ จากตำบลสันป่าเปา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการ Project Based ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การดำเนินโครงการ "ศูนย์ต้นแบบชีวภัณฑ์ชุมชน: การส่งเสริมการผลิตชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและศัตรูพืชในพื้นที่ตำบลสันป่าเปา" เป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็น เนื่องจากพื้นที่นี้มีการเกษตรเป็นอาชีพหลักและการจัดการศัตรูพืชอย่างยั่งยืนเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อความสำเร็จของการเกษตรในระยะยาว การใช้ชีวภัณฑ์ในการจัดการศัตรูพืชช่วยลดการพึ่งพาสารเคมีที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค นอกจากนี้ การผลิตชีว-ภัณฑ์ในชุมชนยังสามารถลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตร โครงการนี้จะช่วยให้เกษตรกรมีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการจัดการศัตรูพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยต่อสุขภาพ โครงการยังส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชน หน่วยงานวิชาการ และภาครัฐ เพื่อการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ศูนย์ต้นแบบฯยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวและผู้สนใจจากภายนอก ซึ่งจะเป็นการเพิ่มรายได้และส่งเสริมเศรษฐกิจในชุมชน การดำเนินโครงการนี้จึงเป็นการลงทุนที่มีคุณค่าในการเสริมสร้างความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชนตำบลสันป่าเปาในระยะยาว ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนในชุมชน.

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะให้กับเกษตรกร (train the trainer) ในการผลิตและใช้ชีวภัณฑ์ เพื่อจัดการศัตรูพืชอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการใช้สารเคมีและเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกร ทำเกษตรอินทรีย์และการใช้ชีวภัณฑ์ (training) เพื่อให้ผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเกษตรกรเอง รวมถึงรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เพื่อพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรทำเกษตรอินทรีย์และการใช้ชีวภัณฑ์ (training) เพื่อให้ผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเกษตรกรเอง รวมถึงรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
3. เพื่อพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1) ความรู้และทักษะการผลิตและการใช้สารชีวภัณฑ์ของเกษตรกร 2) ยกระดับผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
KPI 1 : ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 2 : จำนวนผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาและวางจำหน่าย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 3 : การดำเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 3 เดือน 6
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายเป็นไปตามที่กำหนด
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
190000 110000 บาท 300000
KPI 5 : จำนวนเครือข่าย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เครือข่าย 1
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าใช้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1) ความรู้และทักษะการผลิตและการใช้สารชีวภัณฑ์ของเกษตรกร 2) ยกระดับผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ชื่อกิจกรรม :
1) เสริมสร้างความรู้และทักษะการผลิตและการใช้สารชีวภัณฑ์ให้กับเกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวรินทร  โภคารัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้อบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 4 ครั้ง ๆ ละ 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้อบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 4 ครั้ง ๆ ละ 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 9,800 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 วัน ๆ ละ 3 คัน ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
5. ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำคู่มือการฝึกอบรมการผลิตและใช้สารชีวภัณฑ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 8,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
6. ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 3,600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
7. ค่าจ้างเหมาถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวพร้อมตัดต่อ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 16,000 บาท เป็นเงิน 16,000 บาท
8. ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำโปสเตอร์โครงการและองค์ความรู้ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
77,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 77,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 12,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
12,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น กากน้ำตาล EM บัวรดน้ำ ถังเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ เป็นต้น เป็นเงิน 42,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น อาหารเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ หัวเชื้อบิวเวอร์เรีย/ไตรโคเดอมา เป็นต้น เป็นเงิน 52,000 บาท
3. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 5,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
99,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 99,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 190000.00
ชื่อกิจกรรม :
2) พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพและมาตรฐาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวรินทร  โภคารัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาออกแบบ ผลิต และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 2 ผลิตภัณฑ์ เป็นเงิน 80,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาในการวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 110,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 110,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 110000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล