22283 : โครงการยกระดับเทคโนโลยีการจัดการดินและน้ำตามแนวทางพระราชดำริแปลงกาแฟบนพื้นที่สูงเพื่อลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้งจากสภาพอากาศแปรปรวน ปี 2
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วิรุญรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/10/2567 15:48:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟอราบิกา และผู้ประกอบการกาแฟที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วาสนา  วิรุญรัตน์
น.ส. วราภรณ์  ภูมิ์พิพัฒน์
น.ส. นุจรีย์  พรมโสภา
น.ส. สุลาวัลย์  อาทิตย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.7 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.7.5 ผลักดันการนำไปใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 68 AP 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี ยั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 AP 1.1.2 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking ส่วนงาน : ความสำเร็จในการสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนนโยบาย Green U และ Green Office
กลยุทธ์ 68 AP 1.1.2.1 ขับเคลื่อน และผลักดันการพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อให้ได้รับคะแนนการประเมิน Green University Ranking ทั้ง 7 ด้าน ให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การปลูกกาแฟอราบิกาบนที่สูงทางภาคเหนือของประเทศไทยภูมิประเทศและปัจจัยแวดล้อมดังกล่าวมีความแตกต่างหลากหลายตามตำแหน่งที่ตั้งของแปลงปลูกกาแฟ ดังนั้นระบบที่แปลงปลูกกาแฟมีการจัดการภูมินิเวศน์ให้พอเหมาะจะส่งผลดีต่อการผลิตกาแฟระยะยาว ในการผลิตกาแฟอราบิกาประเทศไทยมีข้อจำกัดหลายด้าน อาทิ ทรัพยากรดิน น้ำ และป่าสภาพภูมิประเทศ และสภาพอากาศที่มีผลกระทบต่อตันกาแฟตลอดฤดูกาลผลิต สำหรับดินบนพื้นที่สูงมีปัญหาการชะล้างพังหลายของดินซึ่งมีผลทำให้ดินเกิดการเสื่อมโทรม เป็นดิน ตื้น ดินกรด ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ทำให้พืชที่ปลูก บนพื้นที่สูงให้ผลผลิตน้อยหากไม่การจัดการดินและปุ๋ยที่ดี สำหรับแหล่งปลูกกาแฟอราบิกาปลูกกันในเขตที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยระหว่าง 800-2,500 มิลลิเมตรต่อปี ปริมาณน้ำฝนที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 1,400-1,600 มิลลิสิตรต่อปี การกระจายตัวของฝนเป็นสิ่งที่สำคัญมากกว่าปริมาณน้ำฝน ควรมีการ กระจายตัว ที่ดี และต้องมีช่วงเวลาฝนแล้ง 2-3 เดือน (มกราคม-มีนาคม) เพื่อกระตุ้นให้กาแฟสร้างตาดอก การที่กาแฟขาดน้ำช่วงการขยายผล ถือเป็นช่วงริกฤตของกาแฟ (critical period)ระยะที่ผลกำลังเดิบโตทำให้เมล็ดกาแฟมีขนาดเล็กได้(กรมวิชาการเกษตร,2565) เนื่องจากน้ำมีส่วนสำคัญในการพัฒนาของผลกาแฟให้ได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งยังไม่สามารถเพิ่มผลผลิตโดยการขยายพื้นที่ปลูกกาแฟได้อีกแล้วในปัจจุบันซึ่งจะพบความแปรปรวน ของปริมาณผลผลิตกาแฟอราบิกาตามแหล่งปลูก จากข้อมูลศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2565) รายงานว่า ผลผลิตต่อไร่ทั้งประเทศในปี 2564 เหลือเพียง 88 กิโลกรัมต่อไร่ผลผลิต (จำนวนต้น 400 ต้น/ไร่) จากการศึกษาคุณภาพผลผลิตกาแฟอราบิกาจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายของวาสนาและคณะ (2563) พบว่า สารกาแฟที่มีคุณภาพปีการผลิต 2562 ลดลงกว่า 30-40% ด้วยสาเหตุของสภาพอากาศแปรปรวนช่วงติดดอก และฝนทิ้งช่วงในช่วง พัฒนาผล ทำให้พบข้อบกพร่องของกาแฟ (defect) มีปริมาณสูงถึง 35-40% ข้อบกพร่องกาแฟที่พบ คือ เมล็ดพัฒนาไม่สมบูรณ์ ขนาดเล็ก ไม่สมมาตร เที่ยว มีราขึ้น และถูกมอดเจาะ เป็นต้น ซึ่งข้อบกพร่องของเมล็ดกาแฟนั้นเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ปริมาณธาตุอาหารไม่เพียงพอ กาแฟขาดน้ำ ผลกระทบสภาพอากาศแปรปรวน แมลงเข้าทำลาย การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว(สีและตาก) เป็นต้น การเน้นพัฒนากระบวนการผลิตแบบแม่นยำหรือโดยพิจารณาการจัดการเฉพาะที่ (area specific) โดยให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉพาะที่ หรือที่เรียกว่า "รายแปลง" ให้เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟด้านการปรับปรุงภูมินิเวศน์ให้เหมาะสม ควบคู่กับการบริหารจัดการดินน้ำและปุ๋ย เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ปลูก ผลผลิตผ่านมาตรฐานกาแฟพิเศษ ควบคู่ไปกับการรักษาเสถียรภาพการให้ผลผลิตของต้นกาแฟให้อั่งยืนระยะยาวได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1) สร้างความรู้ความเข้าใจการผลิตกาแฟอราบิกาคุณภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตกาแฟอราบิกาคุณภาพ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ของผู้อบรมฯ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 ร้อยละ 100
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 คน 50
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายงบประมาณบริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้งบจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
22500 22500 บาท 45000
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการผลิตกาแฟอราบิกาคุณภาพ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตกาแฟอราบิกาคุณภาพ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการผลิตกาแฟอะราบิกาคุณภาพ (การเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการตรวจสอบคุณภาพกาแฟ)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/12/2567 - 03/12/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา  วิรุญรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 25 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 2 วัน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 25 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วันๆละ 2,800 บาท 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 1 คืนๆ ละ 700 บาท 1 คน 1 ครั้ง 1 พื้นที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 650 บาท 1 คน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22500.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการผลิตกาแฟอะราบิกาคุณภาพ (การเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการตรวจสอบคุณภาพกาแฟ)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/02/2567 - 28/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา  วิรุญรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 25 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 2 วัน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 25 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วันๆละ 2,800 บาท 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าที่พัก จำนวน 1 คืนๆ ละ 700 บาท 1 คน 1 ครั้ง 1 พื้นที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 650 บาท 1 คน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
สรุปข้อเสนอแนะกรรมการฯโครงการยกระดับเทคโนโลยีการจัดการดินและน้ำตามแนวทางพระราชดำริแปลงกาแฟบนพื้นที่สูงเพื่อลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้งจากสภาพอากาศแปรปรวน ปี 2
เอกสารชี้แจงการปรับแก้ไขโครงการยกระดับเทคโนโลยีการจัดการดินและน้ำตามแนวทางพระราชดำริแปลงกาแฟบนพื้นที่สูงเพื่อลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้งจากสภาพอากาศแปรปรวน ปี 2
บก68-03 โครงการยกระดับเทคโนโลยีการจัดการดินและน้ำตามแนวทางพระราชดำริแปลงกาแฟบนพื้นที่สูงเพื่อลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้งจากสภาพอากาศแปรปรวน ปี 2
บก68-04 โครงการยกระดับเทคโนโลยีการจัดการดินและน้ำตามแนวทางพระราชดำริแปลงกาแฟบนพื้นที่สูงเพื่อลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้งจากสภาพอากาศแปรปรวน ปี 2
บก68-02 ยกระดับเทคโนโลยีการจัดการดินและน้ำตามแนวทางพระราชดำริแปลงกาแฟบนพื้นที่สูงเพื่อลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้งจากสภาพอากาศแปรปรวน ปี 2
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
เทคโนโลยีการจัดการดิน้ำและปุ๋ยสำหรับผลิตกาแฟคุณภาพ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
ให้นักศึกษาได้มีความรู้และประสบการณ์ในการทดสอบคุณภาพกาแฟตามมาตรฐาน SCA 80 จัดทำเอกสารสำหรับการเรียนการสอนรายวิชา 10100418 เทคโนโลยีการผลิตกาแฟคุณภาพ คณะผลิตกรรมการเกษตร ในภาคการศึกษา 1/2568 ในหัวข้อการตรวจสอบคุณภาพกาแฟตามมาตรฐาน SCA
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล