22282 : โครงการการขยายพันธุ์และรวบรวมกล้วยไม้และพืชกินแมลงเพื่อการอนุรักษ์และจัดทำศูนย์เรียนรู้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ พิลาดี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/10/2567 16:38:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา บุคลากร ประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
นาย บุญตัน  สุเทพ
น.ส. วัชราภรณ์  สุขขี
น.ส. จีระนันท์  ตาคำ
น.ส. นงลักษ์  ชูพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.1.1 พัฒนาและปรับปรุงระบบการรับเข้านักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 AP 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ 68 AP 2.1.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุน ผลักดันให้มีการพัฒนาและปรับปรุงระบบการรับเข้านักศึกษาให้รวดเร็วทันเหตุการณ์และมีความทันสมัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ใน ปี พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เป็นเจ้าจัดงานกล้วยไม้เอเเซียแปซิฟิก ครั้งที่ 4 (APOC 4th) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จฯ ไปเป็นองค์ประธานงานกล้วยไม้เอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๔ ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ในระหว่างทอดพระเนตรนิทรรศการและการประกวดกล้วยไม้ ซึ่งมีกล้วยไม้ไทยสวยงามต่างๆ นำมาจัดแสดงเป็นอันมาก ได้มีพระราชดำรัสกับคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ศาสตราจารย์ ดร. อานนท์ เที่ยงตรง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ระพี สาคริก และ พลเอกแป้ง มลากุล ณ อยุธยา เกี่ยวกับกล้วยไม้ป่าของเมืองไทยว่า "...กล้วยไม้ไทยมีความงามมากและมีกลิ่นหอมมาก ซึ่งนับวันจะหาดูได้ยากและใกล้สูญพันธุ์ไปทุกขณะ ขอให้ช่วยกันหาทางรวบรวมและอนุรักษ์ไว้ พร้อมกับการขยายพันธุ์ให้มีปริมาณมากพอที่จะคืนสู่ป่าธรรมชาติได้.." และผลจากความสำเร็จจากการจัดงานกล้วยไม้เอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ 4 (APOC 4th) รัฐบาลอนุมัติให้สถาบันฯ จัดตั้งศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับขึ้นเมื่อวันที่ 15กันยายน 2535 และได้อนุมัติงบประมาณดำเนินงานจัดสร้างอาคารศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับในปี งบประมาณ 2539 ตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 7 โดยมีวัตถุประสงค์หลักให้เป็นศูนย์บริการวิชาการ การจัดประกวด จัดแสดงนิทรรศการกล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับระดับชาติ นานาชาติ และระดับโลก เพื่อเป็นการสนับสนุนธุรกิจการส่งออกกล้วยไม้ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว กล้วยไม้นับว่าเป็นดอกไม้ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในตลาดโลก สาเหตุที่ส่งผลให้กล้วยไม้ได้รับความนิยมมีอยู่หลายประการ เช่น เสน่ห์จากฟอร์มดอก โทนสีที่เกิดจากการผสมของสายพันธุ์ กลิ่นหอมของกล้วยไม้บางชนิด และอายุของดอกที่มีความยาวนานกว่าดอกไม้ชนิดอื่น เป็นต้น นอกจากนี้ดอกกล้วยไม้ก็ยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายทั้งการนำไปไหว้พระ การปักแจกัน การจัดกระเช้าดอกไม้ พวงหรีด ของชำร่วยต่าง ๆ และสภาพภูมิประเทศของประเทศไทยนั้นมีอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้เป็นอย่างยิ่ง ในปีที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการส่งออกกล้วยไม้ตัดดอกและต้นกล้วยไม้ คิดเป็นมูลค่า 2,835 ล้านบาท ซึ่งถือได้ว่าเป็นอันดับ 1 ในการส่งกล้วยไม้ตัดดอกออกไปสู่ตลาดโลกโดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากที่ประเทศญี่ปุ่นมีความต้องการดอกไม้ต่างถิ่นและยังมีความหลากหลายในด้านเทศกาล ประเพณี แต่คู่แข่งที่สำคัญทางการตลาดคือ ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ไต้หวัน นิวซีแลนด์ และตลาดที่มีความสำคัญอีกแห่งหนึ่งคือ สหภาพยุโรปที่มีการนำเข้ากล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium) มูลค่า 21 ล้าน ยูโรต่อปี สหภาพยุโรปมีความต้องการกล้วยไม้มากโดยเฉพาะอิตาลี แต่การส่งออกไปยังสหภาพยุโรปนั้นจะต้องมีการคำนึงถึงมาตรฐานด้านสุขภาพอนามัยด้านพืชให้เป็นที่ยอมรับทั้งผู้ส่งออกและผู้นำเข้า ทั้งนี้ ยังได้มีกิจกรรมการรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ไทยบางสายพันธุ์ที่เริ่มหายากเพื่อเป็นการอนุรักษ์และนำมาขยายพันธุ์ต่อไปตามแนวพระราชดำรัสของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นการรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ไทยตามแนวพระราชดำรัสของ ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
เพื่อการตอบสนองแผนยุทธศาสตร์ด้านกล้วยไม้ของมหาวิทยาลัย
เพื่อเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ด้านกล้วยไม้ให้เป็นหนึ่งเดียว
เพื่อเป็นการสร้างและพัฒนาผลผลิตให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
เพื่อบูรณาการการเรียนการสอน และผู้ที่สนใจทั่วไป
เพื่อรวบรวมข้อมูลกล้วยไม้และพืชกินแมลง
เพื่อขยายพันธุ์กล้วยไม้และพืชกินแมลง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทยและพืชกินแมลง
KPI 1 : จำนวนพันธุ์กล้วยไม้โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 ต้น 500
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : - ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนพันธุ์พืชกินแมลงโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 ต้น 500
KPI 7 : รวบรวมข้อมูลกล้วยไม้ไทยและพืชกินแมลง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ชนิด 10
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทยและพืชกินแมลง
ชื่อกิจกรรม :
1. การรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทยและพืชกินแมลง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 01/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายบุญตัน  สุเทพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.วัชราภรณ์  สุขขี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.จีระนันท์  ตาคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมารวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทยและพืชกินแมลง 10 ชนิด ๆ ละ 100 ต้นๆ ละ 25 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 25,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา แฟ้มเอกสาร ถ่ายเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น กาบมะพร้าว ดินปลูก มอส ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารเคมี ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กระดาษชำระ ตะกร้า ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
อาจจะได้ไม่ครบตามจำนวนเนื่องจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นกล้วยไม้มีความเสี่ยงที่จะเกิดการติดเชื้อระหว่างขั้นการเพิ่มจำนวนได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เพิ่มจำนวนต้นอ่อนกล้วยไม้ไทยสกุลหวายให้มากกว่าจำนวนเป้าหมาย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล