22279 : โครงการการฝึกอบรมการผลิตต้นกล้าเบญจมาศโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นทุนต่ำ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.วัชราภรณ์ สุขขี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/10/2567 14:56:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงเบญจมาศ นักเรียนนักศึกษาและ ประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วัชราภรณ์  สุขขี
น.ส. จีระนันท์  ตาคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
น.ส. สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์
นาย บุญตัน  สุเทพ
น.ส. นิศานาถ  มิตตะกัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.1 ผลการจัดอันดับ World University Ranking (WUR)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.1.1 ผลักดันการดำเนินงานมหาวิทยาลัยทุกมิติ เพื่อเข้าสู่การจัดอันดับ World University Ranking (WUR)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 68 AP 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี ยั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 AP 1.1.2 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking ส่วนงาน : ความสำเร็จในการสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนนโยบาย Green U และ Green Office
กลยุทธ์ 68 AP 1.1.2.1 ขับเคลื่อน และผลักดันการพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อให้ได้รับคะแนนการประเมิน Green University Ranking ทั้ง 7 ด้าน ให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เบญจมาศ เป็นไม้ดอกเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของโลก ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงจนติดอันดับ 1 ใน5 เนื่องจากดอกมีสีสันสดใสและมีรูปทรงที่หลากหลายสวยงาม อีกทั้งยังทนทานต่อการขนส่งและทนต่อการนำไปใช้งาน ดอกบานนาน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งในรูปแบบไม้ตัดดอกและไม้ดอกประดับกระถาง ให้ผลตอบแทนต่อพื้นที่สูง และจากข้อมูลทะเบียนเกษตรกร ในปี 2563 พบว่าในประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกเบญจมาศ รวมทั้งหมด 1,138.38 ไร่ สามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือซึ่งเป็นแหล่งผลิตเบญจมาศที่สำคัญของประเทศ เนื่องจากมีภูมิอากาศที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตและออกดอก สามารถดำเนินการผลิตได้ทั้งในและนอกฤดูกาล การผลิตเบญจมาศเกษตรส่วนใหญ่นิยมใช้ต้นกล้าที่ได้จากการปักชำยอด แต่เมื่อต้นแม่พันธุ์มีอายุมากขึ้น มักประสบกับปัญหา จะทำให้การเด็ดยาก เพราะต้นแม่พันธุ์ 1 ต้น จะเด็ดกิ่งแขนงออกไปปักชำได้ประมาณ 5 ครั้ง และจะใช้เวลาในการออกรากนานมากขึ้น และที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ กิ่งชำที่ได้ตอนหลังๆ มีโอกาสเกิดตาดอก เพิ่มมากขึ้นและความสม่ำเสมอของต้นจะลดลงเมื่อต้นแม่พันธุ์มีอายุมากขึ้น การนำต้นกล้าเบญจมาศที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาปลูกเป็นแม่พันธุ์ในทุกๆปี จะสามารถแก้ปัญหาเรื่อง กิ่งชำเกิดรากยาก กิ่งชำเกิดตาดอก ความไม่สม่ำเสมอของต้นและเวลาการออกดอกไม่พร้อมกันได้ แต่ต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแบบปกติ ค่อนข้างจะมีราคาแพง ราคาประมาณ 10 บาท ต่อต้น จะทำให้ต้นทุนในการผลิตสูงขึ้น ดังนั้น ทางผู้เขียนโครงการจึงมีแนวคิดที่จะถ่ายองค์ความรู้เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชต้นทุนต่ำให้กับเกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงเบญจมาศ เพื่อนำมาใช้ผลิตต้นกล้าเบญจมาศปลูกเองได้โดยใช้ต้นทุนการผลิตต่ำ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
- เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นทุนต่ำให้เกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศ
- เพื่อให้เกษตรนำความรู้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นทุนต่ำ ไปผลิตต้นกล้าเบญจมาศเพื่อปลูกเป็นแม่พันธุ์เองได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าฝึกอบรม 50 คน
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของโครงการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 2 : องค์ความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นทุนต่ำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วแสร็จตามรยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้นับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าฝึกอบรม 50 คน
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมการผลิตต้นกล้าเบญจมาศโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นทุนต่ำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/10/2567 - 16/10/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วัชราภรณ์  สุขขี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จีระนันท์  ตาคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายบุญตัน  สุเทพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิศานาถ  มิตตะกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 55 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,250.00 บาท 0.00 บาท 8,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 55 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,850.00 บาท 0.00 บาท 3,850.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท 2 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท 2 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น แฟ้ม สมุด ปากกา กระดาษ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุปลูก ถาดหลุม กระถาง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กะละมัง ทิชชู่ ตะกร้า,น้ำยาล้างจาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ,กรด,ด่าง,ผงวุ้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนผู้เข้าฝึกอบรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
เกิดอุุบัติเหตุในขณะฝึกอบรม
การปลูกต้นกล้าเบญจมาศจากการเเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ มีเปอร์เซนต์การรอดตายต่ำ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประชาสัมพันธ์กำหนดการฝึกอบรม ให้ชัดเจน
เจ้าหน้าที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด และทั่วถึง
ถ่ายทอดความรู้การออกปลูกและการดูแลรักษาอย่าางถูกวิธี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นทุนต่ำ 90 พัฒนาการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล