22275 : โครงการพื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายรุ่งโรจน์ มณี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/10/2567 15:12:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด   พื้นที่ปลูกพืชอินทรีย์ จำนวน 154.75 ไร่ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ที่ดูแลพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 30 คน และ พื้นที่ จำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ 1. พื้นที่ปลูกพืชอินทรีย์ ภายในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 23.75 ไร่ (1) แปลงผลิตผักสดอินทรีย์ (สาขาพืชผัก) จำนวน 1.5 ไร่ (2) แปลงผลิตพืชไร่อินทรีย์ จำนวน 2.25 ไร่ (3) ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา จำนวน 20 ไร่ (3.1) ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา พื้นที่ 16.25 ไร่ (3.2) แปลงข้าวอินทรีย์ แม่โจ้ 2 พื้นที่ 3.75 ไร่ 2. พื้นที่ปลูกพืชอินทรีย์ ภายในพื้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 131 ไร่ (4) แปลงสมุนไพร จำนวน 29 ไร่ (4.1) แปลงสมุนไพร A พื้นที่ 8 ไร่ (4.2) แปลงสมุนไพร B พื้นที่ 4 ไร่ (4.3) แปลงศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติคณะเศรษฐศาสตร์ พื้นที่ 10 ไร่ (4.4) แปลงสมุนไพร D พื้นที่ 5 ไร่ (4.5) แปลงสมุนไพร E พื้นที่ 2 ไร่ (5) ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (907 ไร่) จำนวน 5 ไร่ (6) พื้นที่แปลงฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 74 ไร่ (6.1) แปลงผักอินทรีย์ (พื้นที่ฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้) จำนวน 1 ไร่ (6.2) แปลงยางพารา (พื้นที่ฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้) จำนวน 30 ไร่ (6.3) แปลงมะม่วง (พื้นที่ฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้) จำนวน 23 ไร่ (6.4) แปลงลำไย (พื้นที่ฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้) จำนวน 20 ไร่ (7) พื้นที่แปลงเกษตรอินทรีย์ วิทยาลัยนานาชาติ จำนวน 23 ไร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี พ.ศ. 2568 งบบริการวิชาการ พื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 88,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย รุ่งโรจน์  มณี
นาย ปรีชา  รัตนัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 68 AP 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี ยั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 AP 1.1.2 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking ส่วนงาน : ความสำเร็จในการสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนนโยบาย Green U และ Green Office
กลยุทธ์ 68 AP 1.1.2.1 ขับเคลื่อน และผลักดันการพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อให้ได้รับคะแนนการประเมิน Green University Ranking ทั้ง 7 ด้าน ให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยได้กำหนดวิสัยทัศน์ที่จะทำให้มหาวิทยาลัยเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีการเกษตรโดยเฉพาะแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ.2555 – 2569) ในด้านการเกษตร ซึ่งเป็นด้านที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีความเชี่ยวชาญจะมุ่งเน้นสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ คือมุ่งสู่การเกษตรที่เคารพและเป็นมิตรกับธรรมชาติ ลด ละ เลิกการใช้สารเคมี และเทคโนโลยีอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ ในด้านกายภาพ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยการปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพ และรักษาสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยและชุมชนให้มีความสมดุลกับธรรมชาติ รวมทั้งการพัฒนาศาสตร์และองค์ความรู้เพื่อความยั่งยืนของชุมชน ประเทศชาติ และโลก การนี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จากหน่วยงานสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท. IFOAM) เข้ามารับรองพื้นที่การผลิตตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 และได้รับการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ในปี 2555 คือแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์และแปลงสมุนไพร ในปีงบประมาณ 2556 ได้รับการรับรองพื้นที่เพิ่มอีกเป็นจำนวน 40 ไร่ ในปีงบประมาณ 2557 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เพิ่มอีกเป็นจำนวน 49.5 ไร่ และมีพื้นที่ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 132 ไร่ ในปีงบประมาณ 2558 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เพิ่มอีกเป็นจำนวน 167.5 ไร่ และมีพื้นที่ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 2.8 ไร่ ในปีงบประมาณ 2559 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เป็นจำนวน 167.5 ไร่ และมีพื้นที่ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 2.8 ไร่ในปีงบประมาณ 2560 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เป็นจำนวน 170.3 ไร่ในปีงบประมาณ 2561 ได้รับการรับรองพื้นที่ จำนวน 164.55 ไร่ ในปีงบประมาณ 2562 ได้รับการรับรองพื้นที่ จำนวน 164.55 ไร่ ในปีงบประมาณ 2563 ได้รับการรับรองพื้นที่ จำนวน 163.175 ไร่ ในปีงบประมาณ 2564 ได้รับการรับรองพื้นที่ จำนวน 163.175 ไร่ ส่วนในปีงบประมาณ 2565 ถึงปีงบประมาณ 2567 ได้รับการรับรองพื้นที่ จำนวน 131.75 ไร่ ประกอบด้วย 1.แปลงสมุนไพร (907ไร่) จำนวน 29 ไร่ประกอบด้วย 1.1 แปลงสมุนไพร A อาจารย์ ดร.วาริน สุทนต์ 1.2 แปลงสมุนไพร B พื้นที่ป่า 1.3 แปลงสมุนไพร Cศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ 1.4 แปลงสมุนไพร Dอาจารย์ ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์ 1.5 แปลงสมุนไพร E พื้นที่ป่า 2. แปลงผักสดอินทรีย์ (สาขาพืชผัก) จำนวน 1.5 ไร่ 3. แปลงผักอินทรีย์ (907ไร่) จำนวน 1 ไร่ 4 ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา จำนวน 20 ไร่ 5 แปลงยางพารา 30 ไร่ 6. แปลงมะม่วง 23 ไร่ 7. แปลงลำไย 20 ไร่ 8. ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี5 ไร่ และแปลงพืชไร่อินทรีย์ พื้นที่ 2.25 ไร่ โครงการพื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้สอดคล้องกับการนำแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯด้านเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องปุ๋ยหมักอินทรีย์มาประยุกต์ใช้ในพื้นที่อินทรีย์ที่ขอรับรองตามนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีการขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จากหน่วยงานสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท) เข้ามารับรองพื้นที่ทุกปีๆละ 1 ครั้ง (ครบอายุการรับรอง 30 มิถุนายน) เพื่อขอต่ออายุการรับรองพื้นที่ที่ผ่านการรับรองอินทรีย์และพื้นที่ที่ผ่านการรับรองในระยะปรับเปลี่ยนสำหรับพื้นที่แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการสนับสนุนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์พื้นที่ที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มกท.IFOAM วันที่รับรอง 30 มิถุนายน 2567 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2568

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อนำแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯด้านเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องปุ๋ยหมักอินทรีย์มาประยุกต์ใช้ในพื้นที่อินทรีย์ที่ขอรับรองตามนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 154.75 ไร่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พื้นที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.088 ล้านบาท 0.088
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : พื้นที่ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้รับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์จำนวน 154.75 ไร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
154.75 ไร่ 154.75
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พื้นที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
ตรวจต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 154.75 ไร่ (7 พื้นที่)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตรวจแปลงตามโปรแกรม ACT – IFOAM
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ นักวิชาการ จำนวน 30 คน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ประจำพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 30 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ประจำพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 30 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร
รำละเอียด 2 กระสอบๆละ 250 บาท
มูลวัวแห้งบด 10 กระสอบๆละ 60 บาท
กากเห็ดเก่าบด 1 คิวๆละ 1,000 บาท
ขี้แดดนาเกลือแห้งบด 50 กิโลกรัมๆ10 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8000.00
ชื่อกิจกรรม :
เก็บตัวอย่างดินวิเคราะห์สารเคมีโลหะหนักปนเปื้อน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าธรรมเนียมการตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในดิน จำนวน 6 ตัวอย่าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้รับผิดชอบพื้นที่ที่ขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM บางพื้นที่ยังขาดความเข้าใจในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ขอรับรอง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ตรวจเยี่ยมประชุมและอบรมให้ความเข้าใจในการขอรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM อย่างถูกต้อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล