22263 : โครงการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรนวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืน (68-2.1.4)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/1/2568 16:30:58
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร, วิทยากร, นักศึกษาในหลักสูตร และนักศึกษาผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนเพื่อการศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2568 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แทนวุธธา  ไทยสันทัด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.8.1 พัฒนาทักษะนักศึกษาทั้งด้าน Hard Skills และ Soft Skills โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญคือ GO Eco U.
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.3 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุก ๆ พันธกิจ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.5 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED67 การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.1.9FAED67 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.4(64-68) ผลักดันโครงการ/ กิจกรรมในหลักสูตรที่ส่งเสริมการสร้างผู้ประกอบการ อาชีพอิสระ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
ตัวชี้วัด 2.1.8FAED67 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.2.7 (64-68) ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนให้นักศึกษาจัดส่งผลงานเข้าประกวดในด้านที่เกี่ยวข้องทุกรูปแบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืนมีเป้าหมายในการสร้างดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้เฉพาะทางด้านนวัตกรรมการ ออกแบบที่สามารถสร้างสมดุลของการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ที่เป็นรากฐานสำคัญ ของการดำเนินการในทุกภาคส่วน เน้นความเป็นสหวิทยาการในด้านหลักการและทฤษฎีของ นวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืนมาประยุกต์ใช้วิเคราะห์และทำความเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อ นำไปสู่แนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ป้องกันการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมใน อนาคตและตอบสนองต่อการพัฒนาอย่างทันสมัย สอดคล้องกับการพยายามปรับตัวของมหาวิทยาลัย ในการเป็นมหาวิทยาลัยนิเวศและมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 มุ่งเน้นการสร้างหลักสูตรในลักษณะบูรณาการ เพื่อเพิ่มศักยภาพและปริมาณงานวิจัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้อย่างถ่องแท้และลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีที่มี ความสำคัญทางด้านการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและศาสตร์ในสาขาอื่นที่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องกันและสามารถนำความรู้นั้นมาพัฒนางานออกแบบที่นำไปสู่การลดปัญหาสิ่งแวดล้อมได้
เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความสามารถและทักษะในการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ทั้ง ในมุมลึกและมุมกว้างเพื่อการแก้ปัญหาและสร้างองค์ความรู้ด้านการออกแบบที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมที่เป็นที่ยอมรับระดับชาติและนานาชาติ
เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อการสร้างสรรค์ นวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืนได้
เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีกระบวนการคิดวิเคราะห์และตัดสินใจเพื่อการออกแบบที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเชิงลึกอย่างเป็นระบบ
เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและทางด้าน การสร้างสรรค์งานออกแบบ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรนวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 2 : ร้อยละของนักศึกษามีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการออกแบบนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรนวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
2.1.4.1 กิจกรรมเสวนา และบรรยายพิเศษด้านนวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แทนวุธธา  ไทยสันทัด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชวิชญ์  ติกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (100 บาท x 4 คน x 6 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (1,200 บาท x 1 ชั่วโมง x 3 คน)=3,600+(600 บาท x 1 ชั่วโมง x 3 คน)=1,800.-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10300.00
ชื่อกิจกรรม :
2.1.4.2 กิจกรรมศึกษาดูงานต้นแบบนวัตกรรมการออกแบบเพื่อความยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชวิชญ์  ติกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แทนวุธธา  ไทยสันทัด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง (จำนวน 240 บาท x 3 คน x 3 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,160.00 บาท 0.00 บาท 2,160.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (จำนวน 800 บาท x 3 คน x 3 คืน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,340.00 บาท 0.00 บาท 10,340.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19700.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล