22225 : การแปรรูปวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า สำหรับเกษตรกรและชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร ปัญโญใหญ่ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/10/2567 10:42:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/06/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ แหล่งงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 (เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี) 2568 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร  ปัญโญใหญ่
น.ส. ปวริศา  ศรีสง่า
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด 2.3.1 EN68 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

นโยบายด้านเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศไทย ได้เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ ร่วมมือ สนับสนุนสถาบันการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศทางด้านวิชาการเกษตรทุกสาขา และดำเนินการให้บุคลากรของสถาบันการศึกษาได้ทำหน้าที่สนับสนุนและการส่งเสริมการเกษตร พัฒนารูปแบบการจัดการผลิต การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์และพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งผลิต เร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรม อีกทั้งยังส่งเสริมการผลิตสินค้าใหม่ที่ให้ผลตอบแทนสูง โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรต่อผลผลิตมวลรวมของประเทศอย่างต่อเนื่อง ภาคอุตสาหกรรมได้พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลและมีโอกาสในการขยายตลาด เช่น สินค้าเกษตรอินทรีย์ สินค้าพืชสมุนไพร เป็นต้น เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร นอกจากคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคใช้ตัดสินใจในการยอมรับและบริโภคสินค้า องค์ประกอบสำคัญที่มีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ ได้แก่ วัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ ในการแปรรูป ผู้ปฏิบัติงาน การบริหารจัดการเงินทุนที่ใช้ในการประกอบการ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสามารถรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้คงที่ก่อนถึงมือผู้บริโภค ไม่ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการบวนการผลิตและการแปรรูป การนำของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตแปรรูป เป็น ปุ๋ย วัสดุปรับปรุงดิน และเชื้อเพลิงทดแทน โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้มียุทธศาสตร์ด้านการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ Organic Green and Eco University โดยการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการในด้านการเกษตรของมหาวิทยาลัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเกษตรกรรมด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมในพื้นที่ ให้เป็นต้นแบบของการทำการเกษตรปลอดภัย การเกษตรอินทรีย์ และการเกษรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อไปในอนาคต ดังนั้น คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีพันธกิจหลักเกี่ยวกับ ด้านการเรียนการสอน วิจัยและบริการวิชาการ ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม สมาร์ทฟาร์มและอุตสาหกรรมเกษตร รวมถึงด้านการแปรรูปอาหารและผลผลิตทางการเกษตร การบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา การจัดการเศษชีวมวลเพื่อใช้เป็น ปุ๋ย วัสดุปรับปรุงดิน และเชื้อเพลิงด้านพลังงานทดแทน จึงต้องทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน นำองค์ความรู้และนวัตกรรม งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลและไบโอชาร์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร 2. การศึกษาเชิงการทดลองของการผลิตแก๊สจากกระบวนการแก๊สซิฟิเคชั่นของเศษวัสดุจากข้าวโพด 3. การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเศษวัสดุไม้ 4. การผลิตถ่านชีวภาพจากเศษวัสดุเกษตรและการนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านพลังงาน เพื่อนำออกไปเผยแผ่ให้กับเกษตรกร ประชาชนและชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและสามารถบริหารจัดการ การแปรรูปเศษวัสดุเกษตร เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป เพื่อยกระดับมูลค่าสินค้าเกษตรชุมชนให้สามารถแข่งขันในตลาดทั่วไป และการแข่งขันในตลาดออนไลน์ได้ และเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือนของเกษตรกร เพื่อเป็นฐานการพัฒนาชุมชน สังคมและประเทศต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมการแปรรูปเศษชีวมวลเกษตรในท้องถิ่นเป็นถ่านชีวภาพสำหรับใช้ในครัวเรือน เพื่อลดรายจ่ายด้านปุ๋ยเคมีให้กับเกษตรกรและชุมชน
เพื่อส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์ดินปลูกผสมไบโอชาร์ เป็นสินค้าเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรและชุมชน
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม การแปรรูปเศษชีวมวลเป็นถ่านชีวภาพ และการทำผลิตภัณฑ์ดินปลูกผสมไบโอชาร์ให้กับเกษตรกรและชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ถ่านชีวภาพคุณภาพสูง
KPI 1 : - นวัตกรรมการแปรรูปเศษวัสดุเกษตรเป็นถ่านชีวภาพคุณภาพสูง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 นวัตกรรม 1
KPI 2 : - จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : - ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.15 ล้านบาท 0.15
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : - ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : ดินปลูกผสมถ่านชีวภาพ
KPI 1 : - จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : - ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : - ผลิตภัณฑ์ดินปลูกผสมถ่านชีวภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 5 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.15 ล้านบาท 0.15
KPI 7 : - ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 30 คน
ผลผลิต : รายงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่ม
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ถ่านชีวภาพคุณภาพสูง
ชื่อกิจกรรม :
เตรียมความพร้อม และการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การแปรรูปเศษชีวมวลเป็นถ่านชีวภาพคุณภาพสูง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าอบรม) จำนวน 30 คน x คนละ 150 บาท x 1 มื่อ x 1 วัน = 4500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าอบรม) จำนวน 30 คน x คน ละ 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน = 2100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม จำนวน 30 เล่ม x เล่ม ละ 100 บาท = 3000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย x ป้าย ละ 1,200 บาท = 1200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์/ทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของถ่านชีวภาพ 15,000 บาท x 1 ผลิตภัณฑ์ (ค่าความร้อน การอุ้มน้ำ ความหนาแน่น ) = 15000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์/ทดสอบคุณสมบัติทางเคมีของถ่านชีวภาพ 15,000 บาท x 1 ผลิตภัณฑ์ (ค่า ph ค่าแร่ธาตุ ต่างๆ) = 15000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท x 3 คน = 7200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท x 3 คน = 1800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร แฟ้ม ปากกา กระดาษ ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 900 บาท = 27000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ซีดี ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 500 บาท = 15000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ฟางข้าวโพด เศษวัสดุทางการเกษตร ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 800 = 24000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือวิทยาศาสตร์ ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน คนละ 140 บาท = 4200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อ ถังเหล็ก ตะแกรงเหล็ก ค้อน เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 1000 บาท = 30000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
ผลผลิต : ดินปลูกผสมถ่านชีวภาพ
ชื่อกิจกรรม :
เตรียมความพร้อม และการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การทำผลิตภัณฑ์ดินปลูกผสมถ่านชีวภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าอบรม) จำนวน 30 คน x คน ละ 150 บาท x 1 มื้อ x1 วัน = 4500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าอบรม) จำนวน 30 คน x คน ละ 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน = 2100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม จำนวน 30 เล่ม x เล่ม ละ 100 บาท = 3000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย x ป้าย ละ 1200 บาท = 1200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์/ทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของดินปลูกผสมถ่านชีวภาพ
15,000 x 1 ผลิตภัณฑ์ (ค่าความร้อน การอุ้มน้ำ ความหนาแน่น) = 15000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์/ทดสอบคุณสมบัติทางเคมีของดินปลูกผสมถ่านชีวภาพ
15,000 บาท x 1 ผลิตภัณฑ์ (ค่า ph ค่าแร่ธาตุ ต่างๆ) = 15000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมง x ชั่วโมง ละ
600 บาท x 3 คน x 1 วัน = 7200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 ชั่วโมง x ชั่วโมง ละ
300 บาท x 3 คน x 1 วัน = 1800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร แฟ้ม ปากกา กระดาษ ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 900 บาท = 27000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ซีดี ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คน ละ 500 บาท = 15000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ฟางข้าวโพด เศษวัสดุทางการเกษตร ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 800 บาท = 24000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือวิทยาศาสตร์ ฯลฯ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 140 บาท = 4200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น กระบะผสมปูน พลั่ว จอบ เป็นต้น จำนวน 30 คน x คนละ 1000 บาท = 30000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 30 คน
ชื่อกิจกรรม :
ติดต่อประสานงานและประชาสัมพันธ์โครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 31/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ผลผลิต : รายงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่ม
ชื่อกิจกรรม :
สรุปผลการดำเนินงานและการจัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การสื่อสารที่ไม่ชัดเจน : อาจเกิดจากการไม่ระบุเป้าหมายหรือสาระสำคัญให้ชัดเจน ทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องไม่มีความเข้าใจที่ตรงกัน
การขาดความเข้าใจ: เกษตรกรหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องอาจไม่เข้าใจหรือไม่สามารถนำเทคโนโลยีไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน: การรวบรวมข้อมูลที่ผิดพลาดจะส่งผลให้การสรุปผลไม่แม่นยำ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กำหนดแนวทางการสื่อสารที่ชัดเจน รวมถึงการจัดประชุมหรือเวิร์กช็อปเพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจที่ตรงกัน
จัดฝึกอบรมและเวิร์กช็อปเพื่อให้ความรู้และการสาธิตการใช้เทคโนโลยีอย่างจริงจัง
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนการสรุปผล โดยมีการตั้งเกณฑ์มาตรฐานในการตรวจสอบและทบทวนข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล