22216 : โครงการศูนย์บริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.เบ็ญจา บำรุงเมือง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/12/2567 16:32:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน นักศึกษา ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี 2568 สำนักงานคณบดี แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรม สนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงาน บริหารมหาวิทยาลัย งาน บริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 6) โครงการศูนย์บริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตร 2568 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุธีระ  เหิมฮึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 68 AP 6.1 ภารกิจยุทธศาสตร์ตามวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาที่หัวหน้าส่วนงานเสนอไว้ต่อสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 68 AP 6.1.13 พัฒนาศูนย์บริการวิชาการคณะผลิตกรรมการเกษตรให้มีความทันสมัย
กลยุทธ์ 68 AP 6.1.13.1 ปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานของผลิตกรรมการเกษตรให้ชัดเจนโดยความร่วมมือจากบุคลากรสังกัดศิษย์เก่าและเครือข่ายให้เป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร อย่างเป็นระบบที่ทันสมัยยิ่งขึ้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยศูนย์บริการวิชาการคณะผลิตกรรมการเกษตร เป็นหน่วยงานกลางที่รวบรวมองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตรเกษตรอย่างครบวงจร ภายใต้ความรู้ความเชี่ยวชาญของบุคลากรภายในคณะผลิตกรรมการเกษตร สำหรับรับบริการด้านวิชาการแก่บุคลภายในและภายนอกคณะฯ ตลอดจนบุคลภายนอกที่มาขอใช้บริการในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งรูปแบบการให้บริการโดยตรง และโต้ตอบในระบบออนไลน์ ทั้งนี้ในงานเฉลิมฉลองครบรอบงานสถาปนาคณะผลิตกรรมการเกษตร 50 ปีนั้น ศูนย์บริการวิชาการฯ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการจัดงาน ให้รวบรวมองค์ความรู้ที่สามารถเผยแพร่ในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเป็นอัตตลักษณ์ที่บ่งบอกถึงงานพันธกิจที่คณะฯ ได้สร้างสรรค์มาตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั่นคือ เมืองกล้วยไม้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมืองกล้วยไม้มหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น มีอัตตลักษณ์ที่โดดเด่นทั้งด้านการรวบรวม ขยายพันธุ์ การปลูกเลี้ยง และการขายต้นกล้าแก่ประชาชนทั่วไปภายใต้องค์ความรู้ของนักวิจัยภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตรดังที่เห็นจวบจนปัจจุบัน ทางศูนย์บริการวิชาการฯ จึงเล็งเห็นว่าการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบหนังสือที่เผยแพร่ เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ของบุคลากร นักวิจัยทั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน ควรค่าแก่การบันทึกให้คนในปัจจุบัน และอนาคตได้สืบอ่าน จนถึงการอ้างอิงงานต่าง ๆ เพื่อการต่อยอด จึงได้มีมติในการจัดทำหนังสือเมืองกล้วยไม้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ขึ้น เพื่อเป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อนักวิจัย การเผยแพร่ผลงานในอดีตถึงปัจจุบัน การประชาสัมพันธ์งานด้านกล้วย เพื่อการพัฒนาเมืองกล้วยไม้ในรูปแบบการวิจัยเชิงต่อยอดต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านกล้วยไม้
เพื่อสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับกล้วยไม้
KPI 1 : จำนวนหนังสือ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 เล่ม 100
KPI 2 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของโครงการ/กิจกรรมตามงบประมาณที่จัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับกล้วยไม้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1
จัดทำหนังสือเมืองกล้วยไม้มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 31/07/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำหนังสือจำนวน 100 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ยังขาดการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่รวบรวมข้อมูล วิจัย การศึกษาเกี่ยวกับกล้วยไม้ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ดำเนินการจัดทำหนังสือจากข้อมูล ความรู้ที่รวบรวมเกี่ยวกับกล้วยไม้ภายใต้การศึกษาของบุคลากรในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานที่ต้องการรับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านกล้วยไม้ ทั้งภายในและนอกมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล