22207 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากไข่ผำเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.นงลักษ์ ชูพันธ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/1/2568 10:58:04
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/01/2568  ถึง  25/02/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า ประชาชน เกษตรกร องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2568 (ค่าลงทะเบียน) สำนักงานกิจการพิเศษ ฝ่ายกิจการพิเศษ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิขาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 5) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากไข่ผำเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วงค์พันธ์  พรหมวงศ์
น.ส. นงลักษ์  ชูพันธ์
นาง เกศริน  ขยัน
น.ส. จีระนันท์  ตาคำ
น.ส. วัชราภรณ์  สุขขี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 MJU 5.1.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 AP 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 AP 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 AP 5.1.2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ไข่ผำจัดเป็นพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่มีปริมาณโปรตีนและสารเบต้าแคโรทีนสูง นอกจากนี้ยังอุดมด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ กำลังเป็นที่นิยมเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากไข่ผำเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ ทำให้คณะผลิตกรรมการเกษตรมีแนวคิดจัดอบรมเพื่อเพิ่มทักษะและความรู้ในการเพาะเลี้ยงไข่ผำ ส่งเสริมนำไปใช้เชิงพาณิชย์ เพื่อสร้างโอกาศการหารายได้และพัฒนาธุรกิจ เพิ่มมุลค่าผลิตภัณฑ์ ซึ่งอีกทางหนึ่งก็เป็นการหารายได้ให้ฝ่ายกิจการพิเศษ คณะผลิตกรรมการเกษตร และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แสดงศักยภาพทางวิชาการเกษตรมุ่งสู่อนาคตในระดับนานาชาติ ถ่ายองค์ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อมุ่งสู่มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (GO Eco University) และมหาวิทยาลัยยั่งยืน (Sustainable University) รวมถึงเกิดการประสานงานการทำงานร่วมกันกับผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่มที่มีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเพิ่มทักษะและความรู้ในการเพาะเลี้ยงไข่ผำเชิงพาณิชย์
เพื่อส่งเสริมการนำไข่ผำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
เพื่อสร้างโอกาสในการสร้างรายได้และพัฒนาธุรกิจ
เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากไข่ผำ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : อบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากไข่ผำเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการเพาะเลี้ยงผำ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการหารายได้จากผำ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : อบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากไข่ผำเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากไข่ผำเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/01/2568 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วงค์พันธ์  พรหมวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.นงลักษ์  ชูพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางเกศริน  ขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 2 คน คนละ 600 บาท จำนวน 1 คืน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำใบรับรองผู้รับการฝึกอบรม (ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน สำนักพิมพ์) จำนวน 60 ใบ ใบละ 15 บาท รวมเป็นเงิน 900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางโดยพาหนะส่วนตัว รวมระยะทางไป-กลับ จำนวน 1,434 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 4 บาท จำนวน 1 คัน เป็นเงิน 5,736 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,736.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,736.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและคณะทำงาน จำนวน 57 คน คนละ 120 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 6,840 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,840.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย ป้ายละ 600 เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและคณะทำงาน จำนวน 57 คน คน ละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ มื้อ เป็นเงิน 5,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าวิทยากร (บุคคลภายนอก) จำนวน 1 ชั่วโมง 30 นาที ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 3 คน เป็นเงิน 5,400 บาท
- ค่าวิทยากร (บุคคลภายใน) จำนวน 1 ชั่วโมง 30 นาที ชั่วโมงละ 800 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 7,150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,150.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,150.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
- ค่าสาธารณูปโภค 10 % รวมเป็นเงิน 4,500 บาท
- ค่าบริหารส่วนงานระดับคณะ 5 % เป็นจำนวนเงิน 2,025 บาท
- ค่าบริหารฝ่ายกิจการพิเศษ เป็นจำนวนเงิน 3,749บาท
รวมเป็นเงิน 10,274 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,274.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,274.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ขาดความรู้และประสบการณ์ในการเพาะเลี้ยงไข่ผำของผู้เข้าร่วม อาจทำให้การนำความรู้ไปใช้ต่อไม่เต็มที่
การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึง ทำให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเกษตรกรหรือผู้ประกอบการในท้องถิ่นไม่ได้รับข้อมูล
งบประมาณในการจัดทำสื่อการเรียนรู้หรือการเตรียมอุปกรณ์ในการฝึกอบรมไม่เพียงพอ
การเพาะเลี้ยงไข่ผำอาจใช้เวลานานกว่าที่คาดหวัง ทำให้ผู้เข้าร่วมไม่เห็นผลลัพธ์ในระยะเวลาสั้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดทำเอกสารและสื่อการเรียนการสอนที่ครอบคลุมทุกกระบวนการเพาะเลี้ยงไข่ผำ รวมถึงการแนะนำวิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ขยายช่องทางการประชาสัมพันธ์ เช่น ใช้โซเชียลมีเดีย และการประสานงานกับหน่วยงานท้องถิ่น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงข้อมูลได้มากขึ้น
หาทุนสนับสนุนเพิ่มเติมจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน เพื่อช่วยจัดทำสื่อการเรียนรู้และเตรียมอุปกรณ์สำหรับการอบรม
จัดทำแผนการสอนที่ให้ผู้เข้าร่วมเห็นผลลัพธ์เบื้องต้นของการเพาะเลี้ยงไข่ผำ และเน้นการสื่อสารถึงระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดผลผลิต
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล