22165 : โครงการค่ายอาสาพัฒนาชนบท
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายธีระชัย ศรีทอง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/1/2568 9:35:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2568  ถึง  31/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมและสื่อสารเกษตร และนักเรียนโรงเรียนวัดปางเติม ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ประจำปี 2568 คณะผลิตกรรมการเกษตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมและสื่อสารเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงาน การเรียนการสอน งาน สนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฎิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการค่ายอาสาพัฒนาชนบท 2568 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. นภารัศม์  เวชสิทธิ์นิรภัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยะ  พละปัญญา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล  กนกหงษ์
อาจารย์ ดร. ปภพ  จี้รัตน์
น.ส. ศรีวรรณ  ดอนวิเศษ
นาย ธีระชัย  ศรีทอง
นาง ภินัณญา  เหมืองคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 AP 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 AP 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษาและภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสภาพสังคมในปัจจุบัน ทำให้นักศึกษาดำเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ ไม่สนใจในสิ่งแวดล้อมหรือผู้คนรอบตัว ขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อคนรอบข้างและอาจจะลืมเรื่องการมีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ เสียสละ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญในการดำเนินชีวิตในสังคมเป็นอย่างมาก หลักสูตรได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการค่ายอาสาพัฒนาชนบท เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษา มีการเป็นผู้นำที่เสียสละ มีวิสัยทัศน์ที่ถูกต้องและชัดเจน มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออกในสิ่งที่ควร และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมและผู้อื่น รวมถึงการมีจิตอาสา จิตสาธารณะ และยังสามารถนำประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ โดยผ่านกิจกรรมโครงการค่ายอาสาพัฒนาชนบท

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างนักศึกษาของหลักสูตร
เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา หลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาการส่งเสริมและสื่อสารเกษตร และนักเรียนโรงเรียนวัดปางเติม จังหวัดเชียงใหม่ ได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างการทำกิจกรรมร่วมกัน
KPI 1 : ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ประสบการณ์เพิ่มมากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา หลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาการส่งเสริมและสื่อสารเกษตร และนักเรียนโรงเรียนวัดปางเติม จังหวัดเชียงใหม่ ได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างการทำกิจกรรมร่วมกัน
ชื่อกิจกรรม :
โครงการค่ายอาสาพัฒนาชนบท ณ โรงเรียนวัดปางเติม ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/01/2568 - 26/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นภารัศม์  เวชสิทธิ์นิรภัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะ  พละปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังสดาล  กนกหงษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปภพ  จี้รัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศรีวรรณ  ดอนวิเศษ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธีระชัย  ศรีทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางภินัณญา  เหมืองคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน ๆ ละ 70 บาท จำนวน 2 วัน รวมเป็นเงิน 14,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน ๆ ละ 30 บาท จำนวน 2 วัน รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 20,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ระยะเวลาในการเดินทางไปทำกิจกรรม
สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง
เส้นทางไปสถานที่จัดกิจกรรมคับแคบ ไม่ควรใช้รถยนต์ขนาดใหญ่เข้าไป เช่น รถบรรทุกหกล้อ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการนัดหมายเวลารวมตัวเพื่อที่จะเดินทางให้ชัดเจน
ตรวจสอบสภาพอากาศก่อนจัดกิจกรรม
ควรใช้รถยนต์ขนาดเล็กในการเดินทาง เช่น รถกระบะ รถสองแถว
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การสร้างจิตสาธารณะ
ช่วงเวลา : 01/01/2568 - 31/03/2568
ตัวชี้วัด
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการปฏิบัตินอกห้องเรียน 70 ประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล