22085 : วิจัยเพื่อปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/2/2568 13:59:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/02/2568  ถึง  31/05/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1200  คน
รายละเอียด  มหาวิทยาลัยที่อยูในกลุ่มนวัตกรรม จำนวน 19 มหาวิทยาลัย และผู้มีส่วนใด้เสียที่เกี่ยวข้องสาขาละ จำนวน 400 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 3 สาขารวมทั้งสิ้น 1200
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 150,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ปัณณวัฒน์  วังอนุสรณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.6.4 ทบทวนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยให้ได้คุณภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องกับสถานการณ์แผน/ผลการรับนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA68-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA68-G-2 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด BA68-KPI-9 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ BA68-S-9 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียนอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาเอกการจัดการ วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน ซึ่งจะครบรอบการปรับปรุงหลักสูตรในปีการศึกษา 2568 ภายใต้กรอบแนวคิดการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based education: OBE) และแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาตามแบบ AUN-QA การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ และกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมได้มีเปลี่ยนแปลงประกาศเกี่ยวกับกฎกระทรวงมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 กฎกระทรวงมาตรฐานหลักสูตรการศึกษา พ.ศ. 2565 กฎกระทรวงมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 และประกาศ กมอ. เรื่องรายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดศึกษา พ.ศ. 2565 เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 และประกาศ กมอ. เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการแต่งตั้งหรือมอบหมายผู้ตรวจสอบและการตรวจสอบการดำเนินการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 ซึ่งหลักสูตรฯ จะต้องปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกับกฎกระทรวงและประกาศต่าง ๆ ข้างต้น ดังนั้นหลักสูตรจะต้องใช้หลักการออกแบบหลักสูตรตามหลักการของการจัดการศึกษาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นสำคัญ เฉพาะหลักสูตรจะต้องอาศัยหลักการออกแบบหลักสูตรด้วย Backward Curriculum Design (BCD) ซึ่งจะต้องมีการกำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการจำเป็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้ทราบถึงสมรรถนะของผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วจะได้มีคุณลักษณ์ของบัณฑิตให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงงานและพร้อมทำงานได้ทันที โดยข้อมูลความต้องการจำเป็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะต้องนำมากำหนดเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรเป็นขั้นตอนเริ่มของการออกแบบหลักสูตร ดังนั้นหลักสูตรจึงต้องจัดกิจกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อศึกษาข้อมูลความต้องการจำเป็นจากผู้มีส่วนได้เสียเพื่อนำมากำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้(เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รายงานผลการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียของหลักสูตรบริหารธุรกิจ(วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน)
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1200 คน 1200
KPI 2 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม (แบบสอบถาม)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : รายงานผลการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียของหลักสูตรบริหารธุรกิจ(วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ฉบับ 3
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รายงานผลการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียของหลักสูตรบริหารธุรกิจ(วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน)
ชื่อกิจกรรม :
วิจัยเพื่อปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/02/2568 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปัณณวัฒน์  วังอนุสรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาจัดทำวิจัยเพื่อปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกนวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล วิชาเอกการบริหารการเงินและการลงทุน) จำนวน 3 เล่มๆละ 50,000 บาท เป็นเงิน 150,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล