22020 : อบรมสุขภาพจิต คณะบริหารธุรกิจ ประจำปี 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/1/2568 9:29:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/01/2568  ถึง  31/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  330  คน
รายละเอียด  อาจารย์ บุคลากร สโมสรนักศึกษาและนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 34,800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จักรพงษ์  สุขพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA68-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA68-G-2 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด BA68-KPI-12 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ BA68-S-12 สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาชั้นปีสุดท้ายตามกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การอบรมสุขภาพจิตมีจุดเริ่มต้นมาจากความต้องการที่จะสร้างเสริมสุขภาพจิตที่ดีในสังคม และลดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า ปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก อันเนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ ความกดดันในการทำงาน การเรียน และปัจจัยทางพันธุกรรม องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้เน้นย้ำถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพจิต และเห็นว่าการให้ความรู้และการอบรมในเรื่องสุขภาพจิตเป็นส่วนสำคัญในการป้องกันและดูแลสุขภาพจิตของประชากร ทั้งนี้ สโมสรนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ได้เห็นผลกระทบต่างๆจากปัญหาสุขภาพจิตที่เพิ่มมากขึ้นในรั้วมหาวิทยาลัย จึงได้จัดโครงการ อบรมสุขภาพจิต คณะบริหารธุรกิจ ประจำปี 2568 ซึ่งในการจัดโครงการในครั้งนี้เพื่อลดผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้า และการปฏิบัติป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดภาวะดังกล่าวสูงขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างสุขภาพจิตที่ดีและสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับมหาวิทยาลัยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ฝึกทักษะในการจัดการความเครียด ความวิตกกังวล และความรู้สึกเชิงลบต่างๆ
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลสุขภาพจิตของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถรับมือกับสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียดได้ดีขึ้น
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมรู้จักวิธีการหาความช่วยเหลือ และการสนับสนุนตัวเองและผู้อื่นในช่วงเวลาที่จำเป็น
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถตระหนักถึงสุขภาพจิตของตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมฝึกฝนทักษะการสื่อสารที่ดี การฟังอย่างเข้าใจ และการจัดการความขัดแย้งในสภาพแวดล้อมที่กดดัน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถตระหนักถึงสุขภาพจิตของตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม (แบบสอบถาม)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถตระหนักถึงสุขภาพจิตของตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : ผู้เข้าร่วมได้ฝึกทักษะในการจัดการความเครียด ความวิตกกังวล และความรู้สึกเชิงลบต่างๆ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 4 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
330 คน 330
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถตระหนักถึงสุขภาพจิตของตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
ชื่อกิจกรรม :
อบรมสุขภาพจิต คณะบริหารธุรกิจ ประจำปี 2568

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/02/2568 - 09/02/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ณัฏฐ์ณิชชา  ขยาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 330 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 16,500 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 330 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 16,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 33,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 33,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 34800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล