21917 : โครงการพัฒนากระบวนการผลิตน้ำพริกข่าเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 14:29:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  31/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการที่ลงทะเบียนคูปองโอทอปของผลิตภัณฑ์น้ำพริกสุนทรี
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน (ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (ตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป) ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์  อำนาจ
นาย อนุกูล  จันทร์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.8 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.3 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
ตัวชี้วัด 67-6.3.5 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 67-6.3.5.1 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและโลก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

น้ำพริกสุนทรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 114 ม.1 ต.แม่ปาน อ.ลอง จ.แพร่ 54150 ดำเนินกิจการแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำพริก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์คู่ครัวไทยมายาวนาน น้ำพริกสุนทรีมีการผลิตที่ผ่านการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารและยา (อย.) โดยเน้นน้ำพริกที่เป็นอาหารท้องถิ่นล้านนา ผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ น้ำพริกลาบ น้ำพริกแกงอ่อมแกงแค น้ำพริกข่า น้ำพริกน้ำเงี้ยว น้ำพริกน้ำย้อย น้ำพริกหมูกระจก น้ำพริกเห็ดเข็มทอง และน้ำพริกนรกปลาย่าง ซึ่งมีแหล่งจำหน่ายทั้ง ร้านค้าปลีก-ส่ง และออนไลน์ กลุ่มลูกค้า ร้านค้าปลีก-ส่ง มีอายุ 30-60 ปี ผู้ประกอบการเคยมีรายได้รวมสูงสุดจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำพริกทุกชนิดถึง 150,000 ต่อเดือน แต่ปัจจุบันมีรายได้รวมประมาณ 80,000-100,000 บาทต่อเดือน แต่ยอดจำหน่ายจากน้ำพริกข่ายังคงมีน้อยมาก ประมาณ 2,000-3,000 บาท ต่อเดือน เท่านั้น เพราะว่าต้องหยุดการผลิตบ่อยครั้ง ทั้งนี้เนื่องจากผู้ประกอบการพบว่า ผลิตภัณฑ์น้ำพริกข่ากำลังประสบปัญหา คือ เก็บรักษาได้ไม่นาน โดยสามารถเก็บรักษาได้ประมาณ 1 เดือน จะมีกลิ่นหมัก ซึ่งน่าจะเกิดจากการเจริญของจุลินทรีย์ ซึ่งผู้ประกอบเล็งเห็นว่าความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นประเด็นสำคัญสูงสุดสำหรับการผลิตอาหาร ผู้ประกอบการจึงต้องการปรับปรุงกระบวนการให้สามารถผลิต ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี ปลอดภัยต่อการบริโภค และช่วยยืดอายุการเก็บรักษาให้นานขึ้น นอกจากนั้นยังพบว่าบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ไม่สามารถรักษากลิ่นรสของน้ำพริกข่าไว้ได้นาน ทำให้ลักษณะเด่นของน้ำพริกข่าด้อยลง จึงต้องการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ เลือกใช้วัสดุที่สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในระหว่างการเก็บรักษาได้ หากสามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สามารถผลิตน้ำพริกข่าได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อการบริโภค และปรับปรุงคุณภาพวัสดุบรรจุให้ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพได้ ก็น่าจะทำให้มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำพริกข่าได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำพริกข่าให้มีคุณภาพและถ่ายทอดกระบวนการผลิตสู่ผู้ประกอบการ
2 เพื่อปรับปรุงและออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถเก็บรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์และมีฉลากสินค้าที่ดึงดูดใจผู้บริโภค
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ได้กระบวนการผลิตที่ได้รับการปรับปรุงที่มีการควบคุมคุณภาพตั้งแต่วัตถุดิบจนกระทั่งถึงผลิตภัณฑ์สุดท้าย 2. ผู้ผลิตได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการควบคุมกระบวนการผลิตที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการปรับปรุงคุณภาพบรรจุภัณฑ์และออกแบบฉลากตราสินค้า
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้รับบริการในการยกระดับกระบวนการน้ำพริกข่า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ผลิตภัณฑ์น้ำพริกที่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 5 : ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการปรับปรุงคุณภาพบรรจุภัณฑ์และออกแบบฉลากตราสินค้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 บาท 100000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ได้กระบวนการผลิตที่ได้รับการปรับปรุงที่มีการควบคุมคุณภาพตั้งแต่วัตถุดิบจนกระทั่งถึงผลิตภัณฑ์สุดท้าย 2. ผู้ผลิตได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการควบคุมกระบวนการผลิตที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการปรับปรุงคุณภาพบรรจุภัณฑ์และออกแบบฉลากตราสินค้า
ชื่อกิจกรรม :
1) การวิเคราะห์คุณภาพน้ำพริกข่าแบบเดิมในห้องปฏิบัติ
2) ปรับปรุงกระบวนการผลิตตั้งแต่การรับวัตถุดิบจนกระทั่งผลิตภัณฑ์สุดท้าย
3) ประเมินความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์น้ำพริกข่าที่ผ่านการปรับปรุงกระบวนการผลิต
4) ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ทางเคมีและจุลินทรีย์หลังการปรับปรุงกระบวนการผลิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ก่อนปรับปรุงกระบวนการและหลังปรับปรุงกระบวนการ เป็นเงิน 38,000 บาท
2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสำหรับประสานงานและติดตามโครงการ (โดยรถยนต์ส่วนบุคคล) ระยะทาง 480 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 1,920 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 39,920.00 บาท 39,920.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 8 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,200.00 บาท 5,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 51120.00
ชื่อกิจกรรม :
1) การอบรมเรื่องการสร้างแนวความคิดเพื่อออกแบบบรรจุภัณฑ์และฉลาก และประชุมระดมความคิดคัดเลือกบรรจุภัณฑ์และออกแบบฉลากสินค้า
2) ออกแบบบรรจุภัณฑ์และฉลากสินค้า และประเมินความชอบต่อบรรจุภัณฑ์และฉลากสินค้าใหม่
3) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพผลิตภัณฑ์ในระหว่างการเก็บรักษาในบรรจุภัณฑ์ใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาออกแบบและทำบรรจุภัณฑ์ต้นแบบ เงิน 10,000 บาท
2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสำหรับประสานงานและติดตามโครงการ (โดยรถยนต์ส่วนบุคคล) ระยะทาง 240 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 960 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,960.00 บาท 10,960.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 2,160 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,160.00 บาท 2,160.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16720.00
ชื่อกิจกรรม :
ถ่ายทอดความรู้ในการควบคุมกระบวนการผลิตที่ถูกต้องและเหมาะสม
1) สรุปแผนผังกระบวนการผลิตที่ได้รับการปรับปรุงและถ่ายทอดแก่ผู้ประกอบการ
2) ติดตามโครงการและจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆ ละ 2 วันๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 130 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสำหรับประสานงานและติดตามโครงการ (โดยรถยนต์ส่วนบุคคล) ระยะทาง 240 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 960 บาท
4. ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 1,000 แผ่นๆ ละ 1 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,960.00 บาท 5,960.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
2. ค่าตอบแทนพิเศษสำหรับการปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 1 เดือน ๆ ละ 3,000 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,200.00 บาท 16,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
1. ค่าสาธารณูปโภคของสถาบันการศึกษา ร้อยละ 10
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 32160.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล