21913 : แปลงสาธิตการผลิตลำไยในระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปวีณา ลิมป์กาญจนวัฒน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2567  ถึง  31/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  300  คน
รายละเอียด  นักศึกษา นักเรียน เกษตรกร และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ ฟาร์มมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน จัดสรรงบประมาณจากเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ส่วนที่มหาวิทยาลัยดำเนินการ) ส่วนกลางมหาวิทยาลัย งบสำรอง วงเงินไม่เกิน 150,000 บาท หนังสือ ที่อว.69.2.13.1/505 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2567 ตามมติที่ประชุมกรรมการวิเคราะห์และพิจารณางบประมาณมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ 5/2567 2567 150,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. สุรชัย  ศาลิรัศ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ชัยยศ  สัมฤทธิ์สกุล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.3 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม(Intelligent Agriculture)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.3.1.2 พัฒนาระบบฟาร์มของมหาวิทยาลัย สู่การเป็นต้นแบบของระบบการเกษตรที่มีความทันสมัย เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ยุคปัจจุบันมีการแข่งขันค่อนข้างสูงเพื่อให้ได้มาซึ่งโอกาสในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข และตอบสนุนความต้องการของตัวเองในทุก ๆ ด้าน ภาวะดังกล่าวไม่ได้มีขีดจำกัดเฉพาะในสังคมเมืองเท่านั้น แต่ยังขยายวงกว้างสู่สังคมภายรอบนอกซึ่งก็คือสังคมที่ประกอบอาชีพทำการเกษตรเป็นอาชีพหลักนั่นเอง ภาวะเช่นนี้ส่งผลให้การดำเนนชิวตเปลี่ยนไปจากที่เคยทำการเกษตรเพื่อบริโภคภายในครอบครัวหรือมีผลผลิตเหลือจากการบริโภคค่อยนำมาจำหน่าย กลับกลายมาเป็นทำเพื่อให้ได้ปริมาณผลผลิตที่มากขึ้นเนื่องจากมีภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัวเป็นตัวกำหนด จากเหตุผลดังกล่าสงผลให้มีพื้นที่การผลผลิตพืชผลทางการเกษตรเพิ่มขึ้น ความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลูกมากขึ้นและมีระยะการปลูกพืชถี่ขึ้น ตามลำดับเมื่อเป็นเช่นนี้ธาตาหารพืชที่อยู่ในดินก็ถูกใช้มากขึ้นตามพื้นที่เพาะปลูกที่ไม่มีการพักดิน พักการสะสมอาหาร ก็ส่งผลให้ดินเป็นแหล่งสะสมของโรคพืชและแมลงรวมถึงวงจรการผลิตที่ไม่มีการเว้นช่วงก็เป็นการเปิดโอกาสให้แมลงศัตรูพืชขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ผลที่ตามมาก็คือเกษตรกรต้องหันมาพึ่งปัจจัยการผลิตที่เป็นสารเคมีเพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ให้กับพืชและป้องกันความเสียหายของพืชจากโรคและแมลงและมีแนวโน้มที่จะมีปริมาณการใช้ที่มากขึ้นในทุก ๆ ปี โดยเปรียบเทียบจากปริมาณและมูลค่าการนำเข้าปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตรของสำนักงานเศรษฐกิจแห่งชาติพบว่าปี 2552 มีการนำเข้าปุ๋ยเคมี 3,833.072 ตัน มูลค่า 42,666 ล้านบาท และต่อมาในปี 2556 มีการนำเข้าปุ๋ยเพิ่มขึ้นเป็น 5,638.891 ตัน มูลค่า 72,259 ล้านบาท และในส่วนของสารำจัดวัชพืช โรค-แมลงพบว่าปี 2551/2555 นำเข้า 109,969/134,480 ตัน (www.oge.go.th) ค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2557 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เนว่าการผลิตพืชของไทยในปัจจุบันยังต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศและมีแนวโน้มการนำเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสภาวะดังกล่าวส่งผลให้ประชาการของประเทศเสี่ยงต่อการบริโภคอาหารทีมีสารปนเปื้อนค่ายข้างสูง โดยในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาพบอัตราการป่วยจากโรคติดเชือที่เกิดจากน้ำและอาหารที่ไม่สะอาดปีละประมาณ 2 ล้านราย ขณะเดียวกันการป่วยและเสยชีวิตจากโรคมะเร็งในปี 2549 พบผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวถึง 60,000 ราย (www.thailabonline.com) ค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2557 จากสถิติดังกล่าวถ้ามองในแง่ของการช่วยให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด ก็ถือว่ายังไม่มีสิ่งใดมาตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในจุดนี้ได้ แต่ถ้ามองในแง่ของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานตลอดจนผู้บริโภคแล้วก็ไม่มีใครปฏิเสธได้ถึงผลกระทบดังกล่าวแต่ปัญหาอยู่ที่เกษตรกรเองยังมีความเชื่อมั่นต่อปัจจัยการผลิตดังกล่าวประกอบกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันที่เงินเป็นปัจจัยที่ 5 ในการดำรงชีวิตทำให้เกษตรกรต้องพึ่งพาสิ่งที่สามารถตบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว จนทำให้ลืมนึกถึงผลกระทบที่จะตามมาในระยะยาว ดังนั้น เหตุผลดังกล่าวฟาร์มมหาวิทยาลัย จึงมีความต้องการสร้างแปลงสาธิตการผลิตไม้ผลอินทรีย์ ซึ่งได้รับการรับรองแปลงพื้นที่เกษตรอินทรีย์ จากกรมวิชาการเกษตรและระบบมาตรฐาน LQS แม่โจ้ แล้วนั้น ทั้งนี้ เพื่อสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวประกอบกับฟาร์มมหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการให้บริการวิชาการแก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจรวมทั้งในแต่ละปีได้รับนักศึกษาจากหลายสถาบันเพื่อเข้ารับการฝึกงานการที่ทางฟาร์มมหาวิทยาลัยจะจัดตั้งแปลงต้นแบบเพื่อสาธิตการผลิตลำไยอินทรีย์ จึงเป็นแนวทางและต้นแบบที่ควรผลักดัน เพราะเมื่อนับรวมผู้เข้าศึกษาดูงานและนักศึกษาที่เข้ารับการฝึกงานในแต่ละปี ก็จะสามารถนำแนวคิดและความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเองจนขยายผลไปสู่การเผยแพร่ต่อระบบชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อเป็นต้นแบบการผลิตลำไยที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสามารถลดต้นทุนการผลิต
2.เพื่อเป็นแหล่งศึกษาดูงานของเกษตรกร ผู้ที่สนใจ และ นักศึกษาฝึกงาน
3.เพื่อเป็นต้นแบบการพัฒนาฟาร์มมหาวิทยาลัย อย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลงาน การบริการการให้บริการวิชาการ
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ผลผลิตลำไยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ไร่ 20
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
150000 บาท 150000
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
300 คน 300
KPI 7 : แปลงสาธิตการผลิตลำไยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แปลง 1
KPI 8 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลงาน การบริการการให้บริการวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
1กิจกรรมการการผลิตลำไย 20 ไร่
2.บริการวิชาการแก่ผู้มาศึกษาดูงาน 300 คน
-เตรียมแปลงสาธิตตัดแต่งกิ่ง ตัดหญ้า กำจัดวัชพืชรอบโคนต้น
- ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ บำรุงต้น
-ฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช
- ดูแลรักษาให้น้ำให้ปุ๋ยอินทรีย์
-เก็บเกี่ยวผลผลิต
-กิจกรรมให้ความรู้ต่อเกษตรกรผู้ที่สนใจทั่วไปศึกษาดูงาน นักศึกษาฝึกงาน
-สรุปผลการดำเนินโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/09/2567 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.สุรชัย  ศาลิรัศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ 20 ไร่ ละ 200 จำนวน 10 ครั้ง รวมเป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร ได้แก่ ปุ๋ยอินทรีย์กระสอบละ 350 บาท จำนวน 200 กระสอบ รวม 70,000 บาท
ค่าสารชีวภัณฑ์ขวดละ 400 บาท จำนวน 30 ขวด รวมเป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 82,000.00 บาท 82,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. จำนวนกลุ่มเป้าหมายอาจมีจำนวนการคาดเคลื่อนเพิ่มขึ้นหรือลดลง ประมาณร้อยละ 20 2. ผลจากภัยธรรมชาติ เช่น ลม พายุ ลูกเห็บ ไฟป่า เป็นต้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. ประชาสัมพันธ์ผ่านมหาวิทยาลัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. วางแผนควบคุมการดำเนินงาน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
โครงการลำไย150000
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล