21892 : โครงการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ประจำปี 2567 รุ่นที่ 3
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/9/2567 9:52:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/07/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  125  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายวัตถุอันตรายทางการเกษตร, พนักงานบริษัทจำหน่ายวัตถุอันตรายทางการเกษตร, เกษตรกร, นักวืชาการ, นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้จากค่าลงทะเบียนโครงการฝึกอบรม "ผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร" ประจำปี 2567 รุ่นที่ 3 จำนวน 125 คน ๆ ละ 2,000 บาท รวมเป็นเงิน 250,000 บาท
แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป
2567 250,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฏฐ์พัชร  เถียรวรกานต์
นาง อารีรักษ์  วิชัยศรี
นาง พิกุล  นิลวาส
น.ส. เบญจรัตน์  ศุภอุดมฤกษ์
นาง เยาวภา  เขื่อนคำ
นาย กิตติชัย  เกตุจิ๋ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.1.2 ส่งเสริมและผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 67 AP 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 67 AP 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67 AP 4.1.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมหรือกระบวนการพัฒนาการฝึกอบรมความเป็นผู้ประกอบการ และผ่านประสบการณ์การทดลองประกอบธุรกิจจริง หรือ มีผลิตภัณฑ์หรือบริการต้นแบบ พร้อมแบบจำลองทางธุรกิจที่มีความพร้อมเชิงพาณิชย์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 5. ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67 AP 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67 AP 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67 AP 5.1.2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพทางการ เกษตร ในอดีตการเกษตรของไทยเป็นการเกษตรแบบดั้งเดิม ผลิตเพื่อกินเพื่อใช้ในครัวเรือน ขายส่วนที่ เหลือและมีการแบ่งปัน ปัจจุบันรูปแบบการเกษตรได้ปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรเชิงอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตลาด และความต้องการของผู้บริโภคทั่วโลก โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่มักนิยม ผลิตผลที่มีความสวยงาม จึงส่งผลให้เกษตรกรต้องใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตลอดห่วงโซ่การผลิต เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องความเสียหายจากศัตรูพืช ทำให้ผลิตผลเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะคุณภาพ และความสวยงามของสินค้า ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ อย่างไรก็ตามการใช้สารเคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืช หากมีการใช้ไม่ถูกวิธีหรือป้องกันไม่เพียงพอ ก็จะส่งผลให้สารพิษเข้าสู่ร่างกายและเกิดการ สะสมในระยะยาว อีกทั้งยังทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลิตผล ทางการเกษตร ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของผู้บริโภคในวงกว้าง และตกค้างในสภาพแวดล้อมอีกด้วย ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตร เป็นผู้ที่มีโอกาสได้ให้บริการการขายและ ข้อมูลวิชาการเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์ทางการเกษตรต่างๆให้แก่เกษตรกรที่เข้ามาใช้บริการ ดังนั้นคนกลุ่มนี้จึง มีความสำคัญต่อแนวคิดและพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร ด้วยเหตุนี้ภาครัฐได้ เล็งเห็นความสำคัญของคนกลุ่มนี้ที่จะต้องได้รับการพัฒนาและส่งเสริมความรู้และทักษะเกี่ยวกับสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืช การใช้อย่างถูกวิธี ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ไม่ ถูกต้อง ตลอดจนกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวัตถุอันตรายทางการเกษตร ที่สำคัญผู้จำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตร ถือว่าเป็นผู้ที่มีวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือ 3 ไว้ใน ครอบครองเพื่อขาย ซึ่งตามประกาศกระทวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ 2547 ในหมวดที่ 5 เรื่องหลักเกณฑ์การมีไว้ครอบครอง ได้ระบุไว้ในข้อ 11.1 ว่า ให้ผู้มีวัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 หรือ 3 ไว้ในครอบครองเพื่อขาย ต้องดำเนินการจัดให้มีผู้ควบคุมการขายซึ่งผ่านการอบรมความรู้ ด้านวัตถุอันตรายตามหลักสูตรที่กรมวิชาการเกษตรกำหนด และให้ผู้ควบคุมการขายได้รับการอบรม ความรู้ด้านวัตถุอันตรายทุกๆ 5 ปี เพื่อให้ผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ได้มีความรู้ เกี่ยวกับวัตถุอันตรายประเภทต่างๆ การจัดวางสินค้า การจัดระบบป้องกันอันตรายจากการรั่วไหล การ ปนเปื้อนของวัตถุอันตราย ตลอดจนการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2567 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมเป็นหน่วยงานจัดอบรมหลักสูตร “ผู้ควบคุม การขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร” กับทางกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็น การบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานภายนอก และช่วยรณรงค์ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่าย เคมีภัณฑ์ทางการเกษตร มีความรู้และทักษะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการครอบครองและขายวัตถุอันตรายทาง การเกษตรตามหลักสูตรที่กรมวิชาการเกษตรกำหนด อีกทั้งยังเป็นการทำงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของคณะผลิตกรรมการเกษตรและมหาวิทยาลัยแม่โจ้อีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อจัดทำโครงการบริการที่สร้างรายได้ให้แก่หน่วยงาน
2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบการจำหน่ายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ได้รับเอกสารใบรับรองตามประกาศกระทรวงเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ. ๒๕๔๗
3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้ได้แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม และพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ
4. เพื่อเป็นการ Reskill/Upskill ให้แก่ผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง
5. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานภายนอก
6. เพื่อเป็นศูนย์กลางการจัดฝึกอบรมแก่ผู้ประกอบการจำหน่ายวัตถุอันตรายทางการเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบน
ึ7. เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะของบุคลากรในด้านการบริการวิชาการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิต : โครงการฝึกอบรม หลักสูตรผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2567 รุ่นที่ 3
KPI 1 : จำนวนงบประมาณที่ได้รับจากค่าลงทะเบียนการให้บริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250000 บาท 250000
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : โครงการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 โครงการ 1
KPI 6 : จำนวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้เป็นบัณฑิตผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 คน 2
KPI 7 : โครงการบริการวิชาการที่สร้างรายได้ให้แก่หน่วยงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 โครงการ 1
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
125 คน 125
KPI 9 : จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาทักษะในด้านการบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดรายได้กับหน่วยงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 10 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิต : โครงการฝึกอบรม หลักสูตรผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2567 รุ่นที่ 3
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรม และประเมินผลสัมฤทธิ์ หลักสูตร ผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์พัชร  เถียรวรกานต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอารีรักษ์  วิชัยศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางพิกุล  นิลวาส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจรัตน์  ศุภอุดมฤกษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิตติชัย  เกตุจิ๋ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ และค่าใช้จ่ายในการเดินทางวิทยากร จำนวน 1 คน เป็นเงินจำนวน 2,756 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,756.00 บาท 2,756.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 1 ห้อง ๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 2 วัน รวมเป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 18 คน ๆ ละ 234 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 8,424 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,424.00 บาท 8,424.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างสำหรับเจ้าหน้าที่ จำนวน 18 คนๆละ 50 บาท จำนวน 4 มื้อ รวมเป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม) จำนวน 125
คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 250 บาท รวมเป็นเงิน 62,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 62,500.00 บาท 62,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม) จำนวน 125
จำนวน 4 มื้อ ๆ ละ 50 บาท รวมเป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำใบรับรองผู้รับการฝึกอบรม จำนวน 125 ใบ ๆ ละ
14 บาท จำนวน 1,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,750.00 บาท 1,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (หน่วยงานเอกชน) จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) จำนวน 20 ชั่วโมง ๆ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานในวันหยุด จำนวน 7 คน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 5 วัน
รวมเป็นเงิน 7,000 บาท (ระหว่างเดือน ก.ค-ก.ย 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกเวลาทำการในวันปกติ จำนวน 15 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 5 วันรวมเป็นเงิน 7,500 บาท (ระหว่างเดือน ก.ค-ก.ย 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานในวันหยุด จำนวน 3 คน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 วัน
รวมเป็นเงิน 2,400 บาท (ระหว่างเดือน ก.ค-ก.ย 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกเวลาทำการในวันปกติ จำนวน 4 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 10 วัน รวมเป็นเงิน 4,000 บาท (ระหว่างเดือน ก.ค-ก.ย 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าหนังสือคู่มือการฝึกอบรม จำนวน 125 เล่ม ๆ ละ 140 บาท รวมเป็นเงิน
17,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน วัสดุ อุปกรณ์ในการฝึกอบรม และลงทะเบียน จัดทำข้อสอบ เช่น แฟ้มเอกสาร ปากกา กระดาษ รวมเป็นเงิน 12,290 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,290.00 บาท 12,290.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,150.00 บาท 1,150.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเครื่องแต่งกายสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 25 ตัวๆ ละ 550 บาท รวมเป็นเงิน 13,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,750.00 บาท 13,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (ค่าหมึก brother DCP-T 700W) จำนวน 1 กล่อง เป็นเงิน 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (ค่าหมึก HP678 จำนวน 1 ชุด 2 กล่อง) รวมเป็นเงิน 680 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 680.00 บาท 680.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภค 10 % จำนวน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าบริหารส่วนงานระดับคณะ จำนวน 12,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท 12,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 241200.00
ชื่อกิจกรรม :
ทบทวนความรู้เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์พัชร  เถียรวรกานต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจรัตน์  ศุภอุดมฤกษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกเวลาทำการในวันปกติ จำนวน 1 คน ๆ ละ 100 บาท
จำนวน 4 วัน และวันหยุด จำนวน 2 วัน รวมเป็นเงิน 800 บาท (ระหว่างเดือน ก.ค -ก.ย 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 8,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ช่วงเวลา : 19/08/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล