21867 : SAS-67 โครงการการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนิตยา ไพยารมณ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/08/2567  ถึง  09/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  ผู้นำและชุมชนบ้านทุ่งป่าเก็ด ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในรายวิชา ประมาณ 100 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ งบบริการวิชาการ 2567 20,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธรรมพร  ตันตรา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-68 (1) จัดการศึกษาด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การระหว่างประเทศ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารกิจการสังคม
เป้าประสงค์ SAS 64-68 (1.2) บัณฑิตมีทักษะทางวิชาการและวิชาชีพตามที่หลักสูตรกำหนด
ตัวชี้วัด SAS-65-68 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ SAS ส่งเสริมการจัดกิจกรรมแก่นักศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มียุทธศาสตร์ในการบริการวิชาการด้านการเมืองการปกครอง การบริหารรัฐกิจ กฎหมายและการบริหารกิจการเพื่อสังคมแก่องค์กร ชุมชนท้องถิ่น สังคม และได้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOA) อำเภอสันทราย ในการพัฒนาศักยภาพผู้นำในอำเภอสันทรายและสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการวางแผนพัฒนาอำเภอสันทรายในระดับต่างๆ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2553 ทั้งนี้ตั้งแต่ปี 2563 – 2564 ได้จัดโครงการบริการวิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอสันทรายมาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่เกิดจากการใช้ทุนทางสังคมเป็นฐานในการพัฒนาที่ยั่งยืน วิทยาลัยบริหารศาสตร์มีนโยบายในการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ประกอบกับชุมชนทุ่งป่าเก็ด ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนที่เคยเข้าร่วมโครงการสันทรายโมเดล และได้เข้าร่วมการพัฒนาในประเด็นต่างๆ ทั้งด้านความมั่นคงทางอาหารและการจัดสวัสดิการให้แก่คนในชุมชน โดยมีวัดทุ่งป่าเก็ด และศรัทธาวัดทุ่งป่าเก็ด เป็นแรงขับเคลื่อนการพัฒนาในชุมชนเป็นสำคัญ ปัจจุบัน ชุมชนมีความต้องการพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน โดยอาศัยหลักการบริหารจัดการชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน เน้นการพึ่งพาตนเองตามรอยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการนี้ คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมพร ตันตรา และจึงเห็นควรที่จะจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนบ้านทุ่งป่าเก็ดในหัวข้อ “การบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการและพัฒนาชุมชนบ้านทุ่งป่าเก็ดสู่ความเข้มแข็งยั่งยืนโดยอาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจะจัดกิจกรรมในวันที่ 18 สิงหาคม 2567 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ วัดทุ่งป่าเก็ด ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ซึ่งในการจัดโครงการครั้งนี้ ได้นำนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ในรายวิชา รป411 พฤติกรรมองค์กรสาธารณะ และนักศึกษาในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ในรายวิชา 21405013 การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ในองค์การภาครัฐ เข้าร่วมเรียนรู้กระบวนการพัฒนาชุมชนและประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของชุมชนเพื่อวางแผนการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ซึ่งตอบสนองความต้องการของหลักสูตรและมุ่งเน้นตอบโจทย์ PLOs ข้อ 3 ของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่มีความซับซ้อนได้อย่างเหมาะสม และตอบสนอง PLOs ข้อ 4 ของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านการพัฒนาการบริหาร ตลอดจนสามารถประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบการบริหารขององค์การสาธารณะได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการวิเคราะห์และพัฒนาชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาได้เรียนรู้การนำความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และพัฒนาชุมชน
KPI 1 : ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาได้เรียนรู้การนำความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และพัฒนาชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาได้เรียนรู้การนำความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และพัฒนาชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
สัมมนาและระดมความคิดเห็นในหัวข้อ “การบริหารจัดการและการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 18/08/2567 - 18/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมพร  ตันตรา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน x 100 บาท x 1 มื้อ รวมทั้งสิ้น 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน x 35 บาท x 2 มื้อ รวมทั้งสิ้น 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน x 600บาท x 3 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
กำหนดการบ้านทุ่งป่าเก็ด 18-08-67
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล