21848 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา”
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.เมริษา ยอดหอม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/09/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  180  คน
รายละเอียด  นักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบพัฒนานักศึกษา ประจำปี 2567 2567 25,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย วุฒิภัทร  เกตุพัฒนพล
น.ส. เมริษา  ยอดหอม
น.ส. วีนาภัทร์  พงษ์ภา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง กัณณิกา  ข้ามสี่
รองศาสตราจารย์ ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.2.1 พัฒนาแผนและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. เพิ่มทักษะการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 67-1.1 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 67-1.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-1.3 พัฒนารูปแบบโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมให้สอดรับกับการเรียนแนวใหม่สำหรับศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ความเชื่อและการประกอบพิธีกรรมของชาวล้านนา มีความเชื่อในสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติ และความเชื่อในทางศาสนา อันเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต ที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เกิดเป็นพิธีกรรมที่สร้างเอกลักษณ์ของความเป็นล้านนา ซึ่งเป็นอีกหนึ่งศรัทธาความเชื่อที่ไม่เคยจางหายไป จิตวิญญาณของความเป็นชาวพุทธทำให้เกิดงานศิลปกรรมทางความเชื่อในพิธีกรรมล้านนาที่มีความงามและมีเสนห์อย่างลึกซึ้ง ผ่านแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานโดยใช้ระบบสัญลักษณ์ที่แฝงไปด้วยปริศนาธรรมทางศาสนา สิ่งหนึ่งที่ทำให้เห็นถึงความสำคัญของความเชื่อในพิธีกรรมชาวล้านนา ล้วนแล้วเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาแทบทั้งสิ้น แม้แต่กิจกรรมต่างๆ ในช่วงชีวิตหนึ่งก็ยังมีความสัมพันธ์กับพุทธศาสนาด้วย อาทิ การขึ้นบ้านใหม่ การบวช การสืบชะตา เป็นต้น ปัจจุบันพิธีกรรมท้องถิ่นบางอย่างถูกละเลยและเลือนหาย และมีการถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นใหม่น้อย ท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรมภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ ความแตกต่างของพื้นที่ รวมถึงการพัฒนาต่อยอดให้เกิดคุณค่าทางสังคม ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ลดน้อยไปจนแทบจะสูญหาย กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สำนักงานมหาวิทยาลัย เห็นถึงความสำคัญและเพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา จึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา” เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา และยังเป็นการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยกำหนดไว้ จำนวน 3 หัวข้อ ได้แก่ 1. “ต๋าแหลว” เครื่องหมายพิธีกรรมความเชื่อในล้านนา 2. สวยดอกล้านนา ความศรัทธาในวิถีพุทธ 3. เครื่องพลีกรรมล้านนากับความเชื่อ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา
เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติ ถือเป็นการสร้างคุณค่าและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมล้านนาให้คงอยู่สืบต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา”
KPI 1 : ระดับความรู้และการบูรณาการการเรียนรู้ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนาของนักศึกษา
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.5 ระดับ 3.5
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
180 คน 180
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา”
ชื่อกิจกรรม :
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความเชื่อในพิธีกรรมล้านนา”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/09/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายวุฒิภัทร  เกตุพัฒนพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.วีนาภัทร์  พงษ์ภา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เมริษา  ยอดหอม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆละ 30 บาท จำนวน 3 วันๆละ 60 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดฐานเรียนรู้ จำนวน 3 ฐานๆละ 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ประกอบไปด้วย
1. ฐานเรียนรู้ “ต๋าแหลว” เครื่องหมายพิธีกรรมความเชื่อในล้านนา (ตอกไม้ไผ่ พู่สี ลูกปัดไม้ ด้ายขาว ด้ายประดิษฐ์หลากสี ห่วงกุญแจ กาวร้อน เข็ม)
2. ฐานเรียนรู้ สวยดอกล้านนา ความศรัทธาในวิถีพุทธ (ใบตอง ไม้กลัด แม็ค ไส้แม็ค ดอกไม้ล้านนา ธูป เทียน ข้าวตอก)
3. ฐานเรียนรู้ เครื่องสักการะล้านนากับความเชื่อ (หมากแห้ง หมากสด ใบพลู เทียนหางหนู ดอกไม้สด ใบตอง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่
1.ป้ายบอร์ดนิทรรศการฐานเรียนรู้ จำนวน 3 ป้ายๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
2.ป้ายไวนิลโครงการฯ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล