21844 : โครงการอบรมภาษา วัฒนธรรม และวิถีเกษตรไทยสำหรับชาวต่างชาติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์อาภาลัย สุขสำราญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/08/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักวิชาการ นิสิต/นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน (ผู้เข้าร่วมอบรมจากภายนอก จำนวน 10 คน / นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ จำนวน 10 คน /ผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ คณะศิลปศาสตร์ จำนวน 10 คน)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ค่าลงทะเบียนจาก Agroforestry Center Northern Thailand (AFC) 19,000 บาท 2567 19,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย มิติที่ 3) 2567 4,900.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
อาจารย์ ดร. ศรัณย์  จันทร์ทะเล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.4 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ (Inbound/ Outbound)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.4.1 เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ และนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ LA67-2.7 มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด LA67-2.7.4 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
กลยุทธ์ LA67-2.7.3ส่งเสริมให้มีการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 3พัฒนาคณะศิลปศาสตร์สู่ความเป็นนานาชาติ
เป้าประสงค์ LA67-3.1 มีกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันในต่างประเทศ
ตัวชี้วัด LA67-3.1.1 จำนวนกิจกรรมกับต่างชาติตามความร่วมมือ
กลยุทธ์ LA67-3.1.1ส่งเสริมการจัดกิจกรรมทางวิชาการหรือการเรียนการสอนร่วมกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารและการสืบทอดทางวัฒนธรรม รวมถึงเป็นเครื่องมือในการสร้างอัตลักษณ์และสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศ ในยุคโลกาภิวัฒน์ที่โลกไร้พรมแดน การติดต่อสื่อสารกับคนต่างวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มาจากวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันนั้น อาจจะมีอุปสรรคในการสื่อสาร ซึ่งการสื่อสารจะประสบความสำเร็จได้นั้น คู่สื่อสารจำเป็นต้องมีความสามารถทางภาษาในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ดังนั้นการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของชนชาติอื่น เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกันจึงเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิ่ง คณะศิลปศาสตร์ จึงได้จัดโครงการอบรมภาษา วัฒนธรรม และวิถีเกษตรไทยสำหรับชาวต่างชาติขึ้น เพื่อเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมไทย ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมอบรม ได้แก่ คณาจารย์ นักวิชาการ นิสิต/นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่น และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง คณะศิลปศาสตร์กับ Agroforestry Center Northern Thailand (AFC) และฝึกให้นักศึกษาของคณะศิลปศาสตร์เรียนรู้การให้บริการแก่สังคมและฝึกทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์จริง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
วัตถุประสงค์ เพื่ออบรมให้ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยให้กับคณาจารย์ นักวิชาการ นิสิต/นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจาก Agroforestry Center Northern Thailand (AFC) ประเทศญี่ปุ่น และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การบริการวิชาการความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทย-ญี่ปุ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ด้านภาษา วัฒนธรรม และวิถีเกษตรไทย
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจภาษาและวัฒนธรรมไทย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 3 : จำนวนองค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้เผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 องค์ความรู้ 2
KPI 4 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ด้านภาษา วัฒนธรรม และวิถีเกษตรไทย
ชื่อกิจกรรม :
โครงการอบรมภาษา วัฒนธรรม และวิถีเกษตรไทย สำหรับชาวต่างชาติ ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการของคณะศิลปศาสตร์กับ Agroforestry Center Northern Thailand (AFC)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/08/2567 - 14/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศรัณย์  จันทร์ทะเล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ลักขณา  ชาปู่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร  คำยอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายณัฐดนัย  ยงไสว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.หฤทัย  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 30 คน x 35 บาท x 4 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 150 บาท x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเย็น (11 คน + 9 คน) x 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าบำรุงรถ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 1,000 บาท 1 วัน (นักศึกษา/บุคลากรจาก Agroforestry Center Northern Thailand (AFC))
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภค ร้อยละ 10
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท 1,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล