21841 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคและการปฏิบัติในการจัดการโรคพืชด้วยสารสกัดจากธรรมชาติในเชิงวิชาการ”
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
12/08/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  8  คน
รายละเอียด  ประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ค่าลงทะเบียนสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 8 คนๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 28,000 บาท 2567 5,070.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.3 เพิ่มรายได้ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรหน่วยงานในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานนั้น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.4 ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
ตัวชี้วัด 67-6.4.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-6.4.2.2 เพิ่มรายได้ให้กับส่วนงานโดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรในการสร้างรายได้นั้นๆ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สารสกัดจากพืชและสมุนไพรเป็นสารทุติยภูมิที่พืชหรือสมุนไพรสร้างขึ้น สารสกัดจากพืชสมุนไพรมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์หลากหลายชนิด เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคในพืช ดังนั้นจึงมีการสกัดสารจากพืชเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันโรคพืชและแมลงศัตรูพืช หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่าสารชีวภัณฑ์ นอกจากนี้สารสกัดจากพืชยังมีคุณสมบัติในการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของพืช ทำให้พืชมีความต้านทานต่อโรคและศัตรูพืชเพิ่มขึ้น และที่สำคัญสารสกัดจากพืชมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและต่อผู้ใช้งาน (เกษตรกร) รวมถึงผู้บริโภค การเข้าใจถึงกระบวนการสกัดสารจากพืชสมุนไพร การวิเคราะห์สารสำคัญ และการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดต่อเชื้อจุลินทรีย์อันเป็นสาเหตุก่อโรคในพืช เป็นกระบวนการศึกษาเบื้องต้นเพื่อให้ได้ข้อมูลของการนำสารสกัดจากพืชสมุนไพรนั้นๆ ไปใช้ประโยชน์ในภาคการเกษตร เช่น การคัดเลือกชนิดพืช อัตราส่วนและระยะเวลาการสกัด ความเข้มข้นของสารสกัดและความถี่ในการให้สารสกัดกับพืช เป็นต้น โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนี้จึงเป็นการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เรียนรู้เทคนิคพื้นฐานและการใช้เทคโนโลยีเร่วมเพื่อให้เกิดนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อการเกษตร ก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการหมุนเวียนทั้งในเชิงวัตถุดิบจากธรรมชาติและเศรษฐกิจ ตามโมเดลเศรษฐกิจแบบ BCG เศรษฐกิจสีเขียว และเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัยและยุทธศาสตร์ของชาติ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้ผู้เข้าเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการสกัดสารและการวิเคราะห์สารสำคัญจากพืช
2 เพื่อให้ผู้เข้าเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการประเมินชนิดของเชื้อก่อโรคในพืชเบื้องต้น
3 เพื่อให้ผู้เข้าเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดต่อการยับยั้งเชื้อก่อโรคในพืช
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เทคนิคและการปฏิบัติในการจัดการโรคพืชด้วยสารสกัดจากธรรมชาติในเชิงวิชาการ
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่นำส่งมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
22930 บาท 22930
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการประเมินชนิดของเชื้อก่อโรคในพืชเบื้องต้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดต่อการยับยั้งเชื้อก่อโรคในพืช
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะปฏิบัติการสกัดสารและการวิเคราะห์สารสำคัญจากพืช
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
8 คน 8
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เทคนิคและการปฏิบัติในการจัดการโรคพืชด้วยสารสกัดจากธรรมชาติในเชิงวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคและการปฏิบัติในการจัดการโรคพืชด้วยสารสกัดจากธรรมชาติในเชิงวิชาการ”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 12/08/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและคณะทำงาน จำนวน 13 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 2,730 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและคณะและคณะทำงาน จำนวน 13 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 2,340 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,070.00 บาท 5,070.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5070.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล