21791 : โครงการพัฒนาทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการสำหรับอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ ประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์อาภาลัย สุขสำราญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/08/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ ชั้นปีที 1 จำนวน 10 คน ชั้นปีที 2 จำนวน 7 คน และชั้นปีที 4 จำนวน 3 คน อาจารย์ผู้สอนหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ จำนวน 10 คน รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาศิลปศาสตร์ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2567 35,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ สุวรรณ  เลียงหิรัญถาวร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.6 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA67 -2.2 เสริมสร้างทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด LA67-2.2.11 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ LA67 -3. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC) : การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ LA67-2.10 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด LA67-2.10.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ LA67-2.10.1ส่งเสริมการทำนุศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมโดยบูรณาการกับการเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการ และ/หรือกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาทักษะทางอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษามีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในชีวิตประจำวันและการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นด้านความรู้ทางวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ภูมิปัญญา นวัตกรรม และเทคโนโลยี ที่ผู้ประกอบการอาชีพต้องศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้เฉพาะเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับรองรับการพัฒนาอาชีพ หลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศมีความต้องการที่จะจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้แก่นักศึกษาทุกคนในหลักสูตรฯ โดยเน้นการพัฒนาทักษะอาชีพด้านต่าง ๆ รวมถึงทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด ทั้งนี้ หลักสูตรฯ จึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการสำหรับอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ ณ บ้านม่อนฝ้าย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เรือนไม้แบบไทยเดิมสไตล์ล้านนาที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันงดงามของล้านนาอย่างมีเอกลักษณ์ อาทิ ทำร่ม ฟ้อนล้านนา การทำอาหารพื้นมือง โดยจะช่วยให้นักศึกษาสามารถนำความรู้สำหรับการประกอบอาชีพที่ได้ มาปรับใช้ได้อย่างหลากหลาย ซึ่งจำเป็นต้องมีการศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่หาประสบการณ์ เพื่อความสำเร็จในงานอาชีพของนักศึกษาในอนาคตต่อไป นอกจากนี้ หลักสูตรฯ ยังส่งเสริมสนับสนุนอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศให้ได้รับการพัฒนาด้านการเป็นผู้ประกอบการโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดกิจกรรมพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการร่วมกับบริษัท/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้แก่นักศึกษาผ่านกระบวนการเรียนการสอนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านทักษะทางอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศได้รับความรู้ด้านทักษะทางอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ
KPI 1 : จำนวนอาจารย์และนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 2 : จำนวนของอาจารย์และนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการเป็นผู้ประกอบการระดับมาก(ประเมินโดยผู้รับผิดชอบโครงการ)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศได้รับความรู้ด้านทักษะทางอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมการพัฒนาทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการสำหรับอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ (ณ บ้านม่อนฝ้าย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เวลา 9.00-16.00 น.)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/08/2567 - 14/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ลักขณา  ชาปู่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 50 บาท x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
(30 คน x 150 บาท x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (2 คัน x 2,000 บาท x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,700.00 บาท 8,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
(1 คน x 6 ชั่วโมง x 1,200)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าอุปกรณ์ทำร่ม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 35400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล