21786 : ยุวชนอาสาพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ชุมชนเทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายฉัตรชัย ก๋าเร็ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/07/2567  ถึง  30/11/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  อาจารย์, นักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี และนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 2567 150,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA67-G-6 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด BA67-KPI-19 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ BA67-S-19 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 14 หมู่บ้าน มีประชากร จำนวน 8,268 คน มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 36,722 ไร่ พื้นที่การเกษตรกรรมประมาณ 2,880 ไร่ ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณ 656 คน พื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่ปลูกข้าว มันฝรั่ง ข้าวโพด กะหล่ำดอก มะระ ถั่วฝักยาว แตงกวา จะมีการเพาะปลูกพืชผักอื่นบ้างเล็กน้อย และมีการเลี้ยงปศุสัตว์ ได้แก่ ไก่พื้นเมือง 69 คน พื้นที่ 54.25 ไร่ วัวนม 16 ราย พื้นที่ 4.5 ไร่ ฟาร์มไก่ไข่ 8 ราย พื้นที่ 6 ไร่ และการประมง มีการเลี้ยงปลา กบ กุ้ง จำนวน 19 ราย พื้นที่ 44 ไร่ และยังมีการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7 คน พื้นที่ 32 ไร่ (รายงานผลการสำรวจงานทะเบียนและบัตรเทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว ข้อมูล ณ วันที่ 2 มีนาคม 2566) จากการร่วมกับประชุมผู้นำชุมชนและกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ในเทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 13 ธันวาคม 2566 ที่ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 12 บ้านป่าป๋อ ตำบลแม่แฝกใหม่ เพื่อจัดทำแผนหมู่บ้านและแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อรับฟังปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยมีปัญหาที่กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์กำลังเผชิญอยู่คือ 1) ปัญหาต้นทุนการผลิต จาก “อาหารสัตว์” ราคาพุ่งสูงขึ้นทุกชนิด 2) ราคาขายผลผลิตที่ไม่สามารถขยับให้สอดคล้องกับต้นทุนได้ โดยผลการประชุม กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ต้องการช่วยด้านการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตามหลักการ BCG อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการผลิตอาหารสัตว์จากวัตถุดิบในพื้นที่ เพื่อลดต้นทุนการผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ให้เกิดมูลค่าเพิ่มเชิงธุรกิจสู่ตลาดออนไลน์ จากความต้องการของชุมชนข้างต้น คณะดำเนินงานโครงการจึงเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว เพื่อให้มีผลผลิตที่มีประสิทธิภาพทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ด้วยองค์ความรู้ นวัตกรรม เกี่ยวกับการจัดการฟาร์ม แนวทางในการลดต้นทุนการผลิตสัตว์ และอาหารสัตว์ การแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการต่อยอดทั้งด้านการตลาด ดังนั้น คณาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงร่วมกันบูรณาการศาสตร์สาขาสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี สัตวศาสตร์และเทคโนโลยี และสาขานวัตกรรมธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ คณะบริหารธุรกิจ โดยการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการร่วมกันปฏิบัติงานในชุมชน (Community Integrated Learning: CIL) ผ่านโครงการยุวชนอาสา ด้วยเหตุนี้ ทีมงาน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการยุวชนอาสาร่วมกับการเรียนการสอน ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป ด้วยเหตุนี้ ทีมงาน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการยุวชนอาสาร่วมกับการเรียนการสอน ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ด้านการจัดการฟาร์มและอาหารสัตว์
เพื่อพัฒนายุวชนอาสาพัฒนาชุมชน ในการนำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติจริง
เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ให้เกิดมูลค่าเพิ่มเชิงธุรกิจสู่ตลาดออนไลน์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ลดต้นทุนการผลิตและรายได้เพิ่มขึ้น
KPI 1 : แผนธุรกิจสินค้าเกษตรชุมชนเทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 แผน 4
KPI 2 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 3 : จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างน้อย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ผลิตภัณฑ์ 4
KPI 4 : จำนวนช่องทางการตลาดออนไลน์ชุมชนเทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ช่องทาง 1
KPI 5 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ลดต้นทุนการผลิตและรายได้เพิ่มขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
บริหารจัดการโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 18/07/2567 - 30/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
1.ค่าสาธารณูปโภค เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ชุมชนเทศบาลตำบลเจดีย์แม่ครัว อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 19/07/2567 - 30/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (150 บาทต่อมื้อ x 30 คน x 6 วัน) เป็นเงิน 27,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาทต่อมื้อ x 2 มื้อ x 30 คน x 6 วัน) เป็นเงิน 12,600 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (2,500 บาทต่อวัน x 1 คัน x 6 วัน) เป็นเงิน 15,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการตลาด (1,750 บาทต่อชิ้น x 4 ชิ้น) เป็นเงิน 7,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ได้รับการยกระดับ (2,500 บาทต่อชิ้น x 4 ชิ้น x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 10,000 บาท
6. ค่าจ้างเหมาผลิตโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยกระดับ (2,500 บาทต่อชิ้น x 4 ชิ้น x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 10,000 บาท
7. ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ เป็นเงิน 5,000 บาท
8. ค่าจ้างเหมาจัดทำข้อมูลในการจัดทำระบบจัดทำตลาดออนไลน์ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 96,600.00 บาท 96,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
- ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
- ภาคปฏิบัติ จำนวน 1 คน 6 ชั่วโมง ๆ 300 บาท 4 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกเครื่องพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าวัสดุการเกษตร เช่น ยูเรีย ฟาง เมล็ดพันธุ์หญ้า รำข้าว ปลายข้าว กระดูกป่น กากน้ำตาล ฯลฯ เป็นเงิน 15,000 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ตระกร้า น้ำตาล น้ำปลา ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
4. ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 24,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 135000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล