21713 : SAS-67 โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต “1 วัน 1,000 เหตุการณ์ : จัดการอย่างไรดี”
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายภิมุข รอยไทย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/12/2567 14:10:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2567  ถึง  31/07/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ค่าตอบแทนวิทยากร
1 คน x 1 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 = 1,200 บาท
2567 1,200.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ภิมุข  รอยไทย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
น.ส. ภัคสุณีย์  ดวงงา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร  แสงสุโพธิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.5.2.1 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-68 (6) พัฒนาระบบบริหารและการจัดการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ตามแนวทางการบริหารภาครัฐแนวใหม่
เป้าประสงค์ SAS 63-68 (6.1) ยกระดับการบริหารวิทยาลัยบริหารศาสตร์สู่วิทยาลัยชั้นนำ
ตัวชี้วัด SAS-65-67 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตาม Training Roadmap
กลยุทธ์ SAS 65-67 สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะและความต้องการของวิทยาลัยเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพตามสายงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

องค์กรแห่งความสุข เป็นแนวคิดหลักที่มุ่งดำเนินงานกับกลุ่มเป้าหมายหลักคือ “คนทำงานในองค์กร” ที่ถือเป็นบุคคลสำคัญและเป็นกำลังหลักของทั้งครอบครัว องค์กร ชุมชน และสังคม มีการส่งเสริมและพัฒนานโยบาย การสร้างองค์ความรู้และการขับเคลื่อนเครือข่ายในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตคนทำงาน ด้วยเห็นความสำคัญว่า เมื่อคนทำงานในองค์กรมีความสุข ย่อมส่งผลดีต่อการทำงานขององค์กร ความผาสุกในครอบครัว ชุมชน ส่งผลต่อสังคมที่มีความสุข ที่ยั่งยืน การสร้างความสุขในที่ทำงาน นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการบริหารองค์กร มุ่งเน้นให้บุคลากรทุกคนในองค์กรมีความสุขในการทำงาน ความสุขที่เกิดขึ้นนั้นก่อให้เกิดการรังสรรค์ทางความคิด งานที่ได้รับมอบหมายมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดความตึงเครียดจากการทำงานและสภาพแวดล้อม ลดความขัดแย้งในองค์กร ความสุขที่เกิดขึ้นจากการทำงานเปรียบเสมือนน้ำหล่อเลี้ยงให้พฤติกรรมคนปรับเปลี่ยนและพัฒนาในแนวโน้มที่ดีขึ้น และปัจจัยสำคัญที่จะทำให้งานมีประสิทธิภาพคือ “ทรัพยากรบุคคลขององค์กร” ที่จะต้องได้รับการดูแลให้มีการพัฒนาความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติที่ดี (Attitude) ต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น และทัศนคติเชิงบวกเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ก่อให้เกิดความพร้อมที่จะพัฒนาความรู้และทักษะ นั้นคือ การปรับเปลี่ยน mindset ของบุคลากรให้มีวิสัยทัศน์พร้อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลง รับการพัฒนาตนเอง ทำงานให้องค์กร และมีความสุขที่จะทำงานเพื่อองค์กร รวมทั้ง ปัญหาการสื่อสารภายในองค์กรที่ยังทำได้ไม่เต็มที่ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มีนโยบายในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสมดุลกับการปฏิบัติงานตามพันธกิจ รวมทั้งการสนับสนุนให้เกิดระบบการพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ดังนั้น คณะกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต “1 วัน 1,000 เหตุการณ์ : จัดการอย่างไรดี” ขึ้น ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.30 – 10.30 น. ผ่านโปรแกรม Zoom โดยได้เชิญ พระมหาบุญสนอง สิริธโร ดร. เจ้าอาวาสวัดไทยลัฏฐิวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์ รัฐพิหาร ประเทศอินเดียเป็นผู้บรรยาย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดี
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการจัดการภาวะความเครียดและการสร้างสุขในการทำงาน การเรียนและการดำเนินชีวิต
3. เพื่อเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิตที่ดี มีการจัดการภาวะความเครียดและการสร้างสุขในการทำงาน การเรียนและการดำเนินชีวิต
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิตที่ดี เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
KPI 2 : มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ลงทะเบียน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิตที่ดี มีการจัดการภาวะความเครียดและการสร้างสุขในการทำงาน การเรียนและการดำเนินชีวิต
ชื่อกิจกรรม :
รับฟังบรรยาย หัวข้อ “1 วัน 1,000 เหตุการณ์ : จัดการอย่างไรดี”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/07/2567 - 10/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายภิมุข  รอยไทย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ภัคสุณีย์  ดวงงา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
1 คน x 1 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 = 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้ลงทะเบียนได้ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ แต่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้จริง ณ วันที่จัดโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
หารือในคณะกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อีกครั้ง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล