21711 : โครงการสัมมนาและสร้างสรรค์ผู้ประกอบการด้านนิเทศศาสตร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.วีรินทร์ภัทร์ บูรณะสระกวี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ จำนวน 112 คน ผู้ประกอบการ จำนวน 4 คน อาจารย์ จำนวน 4 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาศิลปศาสตร์ กองทุนเพื่อการศึกษางบเงินอุดหนุน 2567 26,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วีรินทร์ภัทร์  บูรณะสระกวี
อาจารย์ ณัฏฐพงษ์  สายพิณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA67 -2.2 เสริมสร้างทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด LA67-2.2.11 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ LA67 -3. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่รัฐบาลมีนโยบายปรับโครงสร้างระบบเศรษฐกิจของประเทศในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs โดยถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว ด้วยการสร้างฐานผู้ประกอบการ SMEs หรือผู้ประกอบอาชีพอิสระใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น ขณะเดียวกันก็จะช่วยเหลือพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs เดิมที่มีศักยภาพให้อยู่รอด ดำรงอยู่และเจริญก้าวหน้า ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทยอันจะทำให้สัดส่วนจำนวนผู้ประกอบการในประเทศเพิ่มขึ้น รวมทั้งก่อให้เกิดอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนประเทศ โดยพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา ในการสร้างความตระหนักและความตื่นตัว (Awareness) จิตวิญญาณความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial mindset) สู่กระบวนการบ่มเพาะและการพัฒนาผู้ประกอบการ (Incubation) ตลอดจนการการเร่งรัดธุรกิจสู่ตลาดสากล (Acceleration) ก่อให้เกิดการลงทุน (Investment) ทั้งจากการลงทุนร่วมทุน (Venture Capital) นักลงทุนบุคคล (Angel) และนักลงทุนบริษัทขนาดใหญ่ (Corporate Venture Capital) ในวิสาหกิจเริ่มต้น สนับสนุนการเร่งพัฒนาประเทศไปสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและสังคมฐานความรู้ โดยให้ความสำคัญแก่การเป็นพื้นที่เปิด 4 ประการได้แก่ 1) ผู้ที่มีทักษะสูงจากทั่วโลก (Talent) 2) เร่งการเติบโตของวิสาหกิจเริ่มต้น (Business Growth) 3) สนับสนุนการลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้น (Investment) 4) การสร้างและพัฒนาระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเติบโตของวิสาหกิจเริ่มต้น (Ecosystem) จากยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้ส่งผลให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนต่างสนองตอบนโยบายของรัฐบาลอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานการศึกษาและในฐานะสถาบันอุดมศึกษากลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม จึงเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว ในการที่จะช่วยสนองตอบนโยบายการพัฒนาประเทศ พัฒนาแผนการส่งเสริมผูู้ประกอบการเริ่มต้นของประเทศไทย ซึงได้กำหนดแนวทางส่งเสริมผู้ประกอบการเริ่มต้นของไทย โดยเร่งดำเนินการให้มีการเพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในการสร้างความตระหนัก สร้างความตื่นตัว การบ่มเพาะผู้ประกอบการเริ่มต้น การบริหารจัดการนวัตกรรม ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ผลักดันให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งสร้างสรรค์ ความคิดและนวัตกรรม ซึ่งเป็นรากฐานในการพัฒนาและปรับเปลี่ยนโครงสร้างอุตสาหกรรมของประเทศ การผลักดันให้มหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพเปลี่ยนแปลงไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการประกอบการ (Entrepreneurial university) และดำเนินการร่วมกับภาครัฐในการส่งเสริมและสนับสนุน นักศึกษา นักวิจัย และผู้ประกอบการ ให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรที่จะส่งเสริมพัฒนาธุรกิจจากความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมได้ เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว ทั้งนี้ ทางคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการสร้างจิตวิญญาณความเป็นผู้ประกอบการมาแล้วต่อเนื่อง ซึ่งปีนี้เป็นปีที่ 3 โดยจัดให้คำแนะนำ เทคนิค และกระบวนการ พร้อมทั้งร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ทางธุรกิจ เพื่อพัฒนานักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 4 ให้ได้รับทักษะทั้งด้านการผลิต การตลาด การจัดการ และการบริหารการเงินอันเป็นทักษะที่จำเป็นในการดำเนินธุรกิจได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเตรียมความพร้อม พัฒนาและสร้างโอกาสให้นักศึกษาในการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่สู่ตลาดของธุรกิจ
เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการกับผู้ประกอบการทางธุรกิจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้พัฒนาการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่สู่ตลาดธุรกิจ และเพิ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้ประกอบการ
KPI 1 : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีความรู้ เข้าใจ และสามารถพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 4 เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 3 : จำนวนผู้ประกอบการจากสถานประกอบการที่ร่วมแลกเปลี่ยนธุรกิจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 หน่วยงาน 4
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้พัฒนาการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่สู่ตลาดธุรกิจ และเพิ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และเสวนา หัวข้อ " Connect & Upskill สู่โลกของธุรกิจด้านการสื่อสาร"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วีรินทร์ภัทร์  บูรณะสระกวี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ 120 คน คนละ 30 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 120 คน คนละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าวิทยากรภายนอกจากสถานประกอบการ จำนวน 4 คน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 1000 บาท (ช่วงเช้า 2 คน ช่วงบ่าย 2 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
โสตทัศนูปกรณ์ไม่พร้อมเนื่องจากมีความไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะไมโครโฟนที่ใช้ในห้องประชุม
ห้องประชุมที่ใช้จัดโครงการฯ มีจำนวนไม่เพียงพอ และเก้าอี้สำหรับรองรับมีความชำรุด ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานกับเจ้าหน้าที่และจัดเตรียมอุปกรณ์สำรอง
ประสานงานกับเจ้าหน้าที่เพื่อแจ้งซ่อมบำรุง และเปลี่ยนแปลงสถานที่ให้รองรับจำนวนเพียงพอ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
เสวนาผู้ประกอบการปี 3
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
นศ463 การจัดการองค์กรและประกอบกิจการสื่อ และ นศ462 การสัมมนานิเทศศาสตร์บูรณาการ
ช่วงเวลา : 01/08/2567 - 24/08/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล