21708 : โครงการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ประจำปี 2567 รุ่นที่ 2
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางอารีรักษ์ วิชัยศรี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/05/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  197  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการวัตถุอันตรายทางการเกษตร เกษตรกร นักวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชน นักศึกษา จำนวน 162 คน เจ้าหน้าที่หน่วยงานและทีมงานเครือข่ายร่วมปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ 35 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้จากค่าลงทะเบียนโครงการฝึกอบรม "ผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร" ประจำปี 2567 รุ่นที่ 2 จำนวน 162 คน ๆ ละ 2,000 บาท รวมเป็นเงิน 324,000 บาท แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป 2567 324,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฏฐ์พัชร  เถียรวรกานต์
นาง อารีรักษ์  วิชัยศรี
นาง พิกุล  นิลวาส
นาย กิตติชัย  เกตุจิ๋ว
น.ส. เบญจรัตน์  ศุภอุดมฤกษ์
นาง เยาวภา  เขื่อนคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.1.2 ส่งเสริมและผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 67 AP 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 67 AP 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67 AP 4.1.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมหรือกระบวนการพัฒนาการฝึกอบรมความเป็นผู้ประกอบการ และผ่านประสบการณ์การทดลองประกอบธุรกิจจริง หรือ มีผลิตภัณฑ์หรือบริการต้นแบบ พร้อมแบบจำลองทางธุรกิจที่มีความพร้อมเชิงพาณิชย์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 5. ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67 AP 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67 AP 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67 AP 5.1.2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพทางการ เกษตร ในอดีตการเกษตรของไทยเป็นการเกษตรแบบดั้งเดิม ผลิตเพื่อกินเพื่อใช้ในครัวเรือน ขายส่วนที่ เหลือและมีการแบ่งปัน ปัจจุบันรูปแบบการเกษตรได้ปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรเชิงอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตลาด และความต้องการของผู้บริโภคทั่วโลก โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่มักนิยม ผลิตผลที่มีความสวยงาม จึงส่งผลให้เกษตรกรต้องใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตลอดห่วงโซ่การผลิต เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องความเสียหายจากศัตรูพืช ทำให้ผลิตผลเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะคุณภาพ และความสวยงามของสินค้า ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ อย่างไรก็ตามการใช้สารเคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืช หากมีการใช้ไม่ถูกวิธีหรือป้องกันไม่เพียงพอ ก็จะส่งผลให้สารพิษเข้าสู่ร่างกายและเกิดการ สะสมในระยะยาว อีกทั้งยังทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลิตผล ทางการเกษตร ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของผู้บริโภคในวงกว้าง และตกค้างในสภาพแวดล้อมอีกด้วย ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตร เป็นผู้ที่มีโอกาสได้ให้บริการการขายและ ข้อมูลวิชาการเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์ทางการเกษตรต่างๆให้แก่เกษตรกรที่เข้ามาใช้บริการ ดังนั้นคนกลุ่มนี้จึง มีความสำคัญต่อแนวคิดและพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร ด้วยเหตุนี้ภาครัฐได้ เล็งเห็นความสำคัญของคนกลุ่มนี้ที่จะต้องได้รับการพัฒนาและส่งเสริมความรู้และทักษะเกี่ยวกับสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืช การใช้อย่างถูกวิธี ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ไม่ ถูกต้อง ตลอดจนกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวัตถุอันตรายทางการเกษตร ที่สำคัญผู้จำหน่ายเคมีภัณฑ์ทางการเกษตร ถือว่าเป็นผู้ที่มีวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือ 3 ไว้ใน ครอบครองเพื่อขาย ซึ่งตามประกาศกระทวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ 2547 ในหมวดที่ 5 เรื่องหลักเกณฑ์การมีไว้ครอบครอง ได้ระบุไว้ในข้อ 11.1 ว่า ให้ผู้มีวัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 หรือ 3 ไว้ในครอบครองเพื่อขาย ต้องดำเนินการจัดให้มีผู้ควบคุมการขายซึ่งผ่านการอบรมความรู้ ด้านวัตถุอันตรายตามหลักสูตรที่กรมวิชาการเกษตรกำหนด และให้ผู้ควบคุมการขายได้รับการอบรม ความรู้ด้านวัตถุอันตรายทุกๆ 5 ปี เพื่อให้ผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ได้มีความรู้ เกี่ยวกับวัตถุอันตรายประเภทต่างๆ การจัดวางสินค้า การจัดระบบป้องกันอันตรายจากการรั่วไหล การ ปนเปื้อนของวัตถุอันตราย ตลอดจนการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2567 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมเป็นหน่วยงานจัดอบรมหลักสูตร “ผู้ควบคุม การขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร” กับทางกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็น การบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานภายนอก และช่วยรณรงค์ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่าย เคมีภัณฑ์ทางการเกษตร มีความรู้และทักษะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการครอบครองและขายวัตถุอันตรายทาง การเกษตร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดทำโครงการบริการที่สร้างรายได้ให้แก่หน่วยงาน
เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้ได้แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม และพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ
เพื่อเป็นการ Reskill/Upskill ให้แก่ผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะของบุคลากรในด้านการบริการวิชาการ
เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานภายนอก
เพื่อเป็นศูนย์กลางการจัดฝึกอบรมแก่ผู้ประกอบการจำหน่ายวัตถุอันตรายทางการเกษตร
เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบการจำหน่ายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ได้รับเอกสารใบรับรองตามประกาศกระทรวงเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ. ๒๕๔๗
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการฝึกอบรม หลักสูตรผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2567 รุ่นที่ 2
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้เป็นบัณฑิตผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 คน 2
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
162 คน 162
KPI 3 : จำนวนงบประมาณที่ได้รับจากค่าลงทะเบียนการให้บริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
324000 บาท 324000
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 7 : โครงการบริการวิชาการที่สร้างรายได้ให้แก่หน่วยงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 โครงการ 1
KPI 8 : จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาทักษะในด้านการบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดรายได้กับหน่วยงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : โครงการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 โครงการ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการฝึกอบรม หลักสูตรผู้ควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2567 รุ่นที่ 2
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรม และทดสอบความรู้สำหรับผู้ควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/05/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์พัชร  เถียรวรกานต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอารีรักษ์  วิชัยศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางพิกุล  นิลวาส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิตติชัย  เกตุจิ๋ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจรัตน์  ศุภอุดมฤกษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ และค่าใช้จ่ายในการเดินทางวิทยากร จำนวน 1 คน เป็นเงินจำนวน 2,295 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,295.00 บาท 0.00 บาท 2,295.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 1 ห้อง ๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 2 วัน รวมเป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 35 คน ๆ ละ 234 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 16,380 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,380.00 บาท 0.00 บาท 16,380.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างสำหรับเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆละ 50 บาท จำนวน 4 มื้อ รวมเป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำใบรับรองผู้รับการฝึกอบรม จำนวน 160 ใบ ๆ ละ
14 บาท จำนวน 2,240 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,240.00 บาท 0.00 บาท 2,240.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม) จำนวน 160
คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 96,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 96,000.00 บาท 0.00 บาท 96,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม) จำนวน 160
จำนวน 4 มื้อ ๆ ละ 50 บาท รวมเป็นเงิน 32,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยงาน จำนวน 1 คน รวมเป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกวันทำการ จำนวน 4 คน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 10 วัน
รวมเป็นเงิน 7,400 บาท (ระหว่างเดือน มิ.ย-ส.ค 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,400.00 บาท 0.00 บาท 7,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (หน่วยงานเอกชน) จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) จำนวน 20 ชั่วโมง ๆ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 คน รวมเป็นเงิน
1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกเวลาทำการในวันปกติ จำนวน 4 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 10 วัน
รวมเป็นเงิน 4,000 บาท (ระหว่างเดือน มิ.ย-ส.ค 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกวันทำการ จำนวน 25 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 5 วัน
รวมเป็นเงิน 12,500 บาท (ระหว่างเดือน มิ.ย-ส.ค 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกวันทำการ จำนวน 4 คน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 วัน
รวมเป็นเงิน 3,200 บาท (ระหว่างเดือน มิ.ย-ส.ค 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (ค่าหมึก HP 678 จำนวน 1 ชุด (2 กล่อง) / HP 703 จำนวน 2 ชุด เป็นเงิน 1,520 บาท รวมเป็นเงิน 3,560 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,560.00 บาท 0.00 บาท 3,560.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเครื่องแต่งกายสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 35 ตัวๆ ละ 315 บาท รวมเป็นเงิน 11,025 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,025.00 บาท 0.00 บาท 11,025.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน วัสดุ อุปกรณ์ในการฝึกอบรม และลงทะเบียน เช่น แฟ้มเอกสาร ปากกา
กระดาษ จำนวน 4,336 บาท ถุงผ้าใส่เอกสาร จำนวน 1,600 บาท รวมเป็นเงิน 5,936 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,936.00 บาท 0.00 บาท 5,936.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าหนังสือคู่มือการฝึกอบรม จำนวน 160 เล่ม ๆ ละ 140 บาท รวมเป็นเงิน
22,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภค 10 % จำนวน 32,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 32,400.00 บาท 0.00 บาท 32,400.00 บาท
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ค่าบริหารส่วนงานระดับคณะ จำนวน 20,464 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,464.00 บาท 0.00 บาท 20,464.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 315500.00
ชื่อกิจกรรม :
ทบทวนความรู้เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์พัชร  เถียรวรกานต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 8,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนบุคลากรปฏิบัติงานนอกเวลาทำการในวันปกติ จำนวน 1 คน ๆ ละ 100 บาท
จำนวน 3 วัน วันหยุด จำนวน 1 วัน รวมเป็นเงิน 500 บาท (ระหว่างเดือน มิ.ย. -ส.ค. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ในกรอบการรับสมัครที่กำหนด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เพิ่มระยะเวลาประชาสัมพันธ์ในกลุ่มผู้อบรมเป้าหมาย และเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ ล่วงหน้า ถ้าครบตามเป้าหมายกำหนดปิดรับสมัครทันที
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล