21699 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประยุกต์ใช้ GenAI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์อาภาลัย สุขสำราญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/06/2567  ถึง  31/07/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  90  คน
รายละเอียด  บุคลากรสายวิชาการและสนับสุนวิชาการคณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ คณะอื่น ๆ และบุคลลภายนอกที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนพัฒนาบุคลากร งบเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย มิติที่ 2) 2567 17,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
อาจารย์ ดร. ปารดา  เดชะประทุมวัน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.2 จำนวนเงินวิจัยด้านสังคมศาสตร์
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.1.2 แสวงหางบประมาณการวิจัยทั้งงบภายในและภายนอก(ครอบคลุมแหล่งทุนอื่นนอกจาก PMU เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.5.1 ร้อยละของบุคลากรที่มีตำแหน่งทางวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.5.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนงบประมาณที่เหมาะสม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและการพัฒนาบุคลากร
เป้าประสงค์ LA67-2.11ส่งเสริมบุคลากรในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคณะและมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด LA67-2.11 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ คณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ LA67-2.1-1.ส่งเสริมให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามยุทธศาสตร์ คณะและมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ LA67-2.12 การพัฒนาบุคลากรตาม training roadmap (สายวิชาการและสนับสนุนวิชาการ)
ตัวชี้วัด LA67-2.12.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ LA67-2.12.2ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและการพัฒนาบุคลากร
เป้าประสงค์ LA67-2.11ส่งเสริมบุคลากรในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคณะและมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด LA67-2.11 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ คณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ LA67-2.1-1.ส่งเสริมให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามยุทธศาสตร์ คณะและมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ LA67-2.12 การพัฒนาบุคลากรตาม training roadmap (สายวิชาการและสนับสนุนวิชาการ)
ตัวชี้วัด LA67-2.12.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ LA67-2.12.2ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

AI คือ ระบบปัญญาประดิษฐ์ระดับหนึ่งในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ได้การออกแบบให้มีระบบการทำงานเหมือนกับสมองของคน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกธุรกิจ ที่สำคัญยังมีการพัฒนาระบบแอปพลิเคชันในการทำงานด้วยระบบอัจฉริยะ AI in Education ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบแผนการสอน การออกแบบสื่อการสอน AI การตรวจงาน หรือการทำวิจัย รวมไปถึงการใช้งานของระบบฟังก์ชันในสมาร์ตโฟนที่สามารถใช้ได้ทุกวัน ในยุคปัจจุบัน ได้มีการนำระบบ AI หรือระบบปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้เป็นตัวช่วยในการศึกษา รวมไปถึงการวิจัย หรือการทดลองต่าง ๆ ซึ่งในการวิจัยก็ได้มีการทดลองใช้ระบบ AI ร่วมกับการสอน เพื่อเป็นการประเมินผล โดยจากการวิจัย พบว่า ผู้สอนสามารถทำหน้าที่ในการบริหารงานได้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการตรวจทาน หรือการให้คะแนนงานที่มีการมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากระบบ AI มีความสามารถในการเรียนรู้ จึงสามารถปรับแต่งหลักสูตร รวมไปถึงเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกับผู้เรียนในแต่ละระดับได้ จึงช่วยเพิ่มทักษะของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพได้ เรียกได้ว่าระบบ AI เป็นระบบที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการเรียนรู้ได้อย่างโดดเด่น และสามารถนำมาปรับคุณภาพการเรียนการสอนให้เข้ากับผู้เรียนได้ดีที่สุด คณะกรรมการพัฒนาบุคลากร คณะศิลปศาสตร์ จึงจะได้กำหนดการจัดโครงการส่งเสริมการจัดทำผลงานทางวิชาการและงานวิจัย เพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการหรือขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น โดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ ดร.พฤทธิ์ พุฒจร จากศูนย์ความเป็นเลิศด้านปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีก่อกำเนิด สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โครงการนี้มุ่งหวังให้บุคลากรประเภทวิชาการและสายสนับสนุนที่สนใจ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวปฏิบัติบที่ดีระหว่างนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญด้านปัญญาประดิษฐ์จึงช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการนำ AI มาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนและงานวิจัย เพื่อวางแผนพัฒนาผลงานทางวิชาการ นำไปสู่การขอกำหนดตำแหน่งวิชาการหรือจัดทำผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้นได้ในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
พัฒนาให้บุคลากรประเภทวิชาการและสนับสนุนวิชาการมีผลงานทางวิชาการที่สามารถยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการหรือจัดทำผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น
สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ Generative AI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัยได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้ลงทะเบียนเข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการประยุกต์ใช้เครื่องมือ Generative AI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัย
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจการประยุกต์ใช้เครื่องมือ Generative AI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้ลงทะเบียนเข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการประยุกต์ใช้เครื่องมือ Generative AI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัย
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการประยุกต์ใช้ GenAI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัย
วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน 2567 เวลา 9.00-16.00 น.
ณ ห้องประชุม 105 อาคารประเสริฐ ณ นคร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/06/2567 - 28/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ญาณิศา  ไชยศรีหา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (1 มื้อ x 90 คน x 120 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 มื้อ x 90 คน x 35 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล