21694 : การสร้างผู้ประกอบการเทคโนโลยีเกษตรและอาหารรุ่นใหม่ MJU Agri smart startup Academy
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ประทีปชล ชัยเลิศ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/6/2567 11:46:53
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
04/06/2567  ถึง  03/04/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  720  คน
รายละเอียด  1. นักศึกษาและบุคลากรที่ได้รับความรู้ผ่านการถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการ 600 คน 2. นักศึกษาที่เข้าร่วมการอบรมทุกชั้นปี โดยมุ่งเน้นชั้นปีที่ 3-4 ที่มีทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และต้องการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้สู่การดำเนินธุรกิจจริง จำนวน 100 คน 3. อาจารย์/นักวิจัย ในมหาวิทยาลัยที่มีความต้องการในการผลักดันและเชื่อมโยงผลงานออกสู่เชิงพาณิชย์ 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักงานมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษาและพัฒนากำลังคนขั้นสูง (Reinventing University) ประจำปีงบประมาณ 2567 กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม
ข้อเสนอโครงการที่ 2 : โครงการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบ Entrepreneurship Education ที่เป็น Niche Area หรือ Strength ของสถาบันอุดมศึกษา
2567 2,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ชัยยศ  สัมฤทธิ์สกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ  ไชยชนะ
อาจารย์ ดร. กัลย์  กัลยาณมิตร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. วีระพล  ทองมา
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฝ่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และโครงการพิเศษ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.6 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การสร้างผู้ประกอบการเทคโนโลยีเกษตรและอาหารรุ่นใหม่ MJU Agri smart startup Academy เป็นการมุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาที่มีความต้องการดำเนินธุรกิจเทคโนโลยีที่มีแนวคิดผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ชัดเจน มีต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่พร้อมต่อการเติบโต โดยการพลิกโฉมกระบวนการขับเคลื่อนและผลักดันผู้ประกอบการจะมีส่วนร่วมในการช่วยให้เข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานการผลิต รวมถึงการตลาดและการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ เพื่อเป็นการยกระดับผู้ประกอบการนักศึกษาที่มีความพร้อมและมีศักยภาพในการทำธุรกิจ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการนักศึกษาในภูมิภาค โดยมหาวิทยาลัยเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคมีศักยภาพและความเข้มแข็งทั้งองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปจนถึงด้านสังคมที่พร้อมจะสร้างให้เกิดระบบนิเวศนวัตกรรมภายใต้ความพร้อมของสถาบันการศึกษา ทั้งบุคลากร อาจารย์ นักวิจัย รวมถึงอุปกรณ์เครื่องมือ โรงงานต้นแบบ และห้องปฏิบัติการในสาขาวิชาที่หลากหลาย มีความพร้อมในการส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมที่มีความต้องการพัฒนาด้านเทคโนโลยีให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกให้สามารถเพิ่มความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังนั้น อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร สามารถเป็นเครื่องมือสำคัญที่มีความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนนวัตกรรมสู่ภูมิภาค เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความสามารถในการแข่งขันเชิงพื้นที่ รวมถึงการสร้าง “นักธุรกิจเทคโนโลยีรุ่นใหม่” ภายใต้ระบบนิเวศของมหาวิทยาลัยที่มีการเชื่อมโยงและผลักดันผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านรูปแบบการสอนและการถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการ ภายใต้หมวดวิชาศึกษาทั่วไปและการจัดโปรแกรมการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพให้แก่นักศึกษาอย่างเป็นระบบตามกลไกหลักสูตรระยะสั้น 4 Module ดังนี้ Module 1 การออกแบบโมเดลธุรกิจด้วย Lean Canvas - การเรียนรู้และเข้าใจโมเดลธุรกิจ (Lean Canvas) - การฝึกเขียนโมเดลธุรกิจ ด้วยหลักการ Lean Canvas - การประเมินความต้องการของลูกค้าเบื้องต้น (Validate) Module 2 การตลาด (E-Commerce & Digital Marketing) - หลักการรูปแบบการตลาดออนไลน์ (E-Commerce Platform Digital Marketing) - การเข้าถึงกลุ่มลุกค้าและเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ - เข้าใจและสามารถวางแผนเลือกใช้เครื่องมือการตลาด (Marketing Tool) Module 3 การวิเคราะห์รายงานทางการเงิน (Financial Reporting Analysis) - การบัญชีต้นทุน การบัญชีบริหารและภาษี - การวางแผนภาษี - การวิเคราะห์งบการเงิน Module 4 ทักษะการจัดการบริหารทีม และทักษะการจัดการธุรกิจ (Team management and soft skill for business) - การสื่อสารและการวิเคราะห์ผู้ฟัง - ทักษะการเป็นผู้นำ และการจัดการองค์กร - ทักษะการเจรจาธุรกิจ การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ ภายใต้โครงการการสร้างผู้ประกอบการเทคโนโลยีเกษตรและอาหารรุ่นใหม่ MJU Agri smart startup Academy จะสามารถผลักดันให้ผู้ประกอบการนักศึกษารายใหม่มีความพร้อมทางด้าน Business Plan & Technology Development of Product โดยใช้องค์ความรู้ภายในมหาวิทยาลัย และสามารถยกระดับเป็นบริษัทเต็มรูปในอนาคต (Spin-off Companies) ผ่านกลไกหลักสูตรระยะสั้น 4 Module เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการและเรียนรู้การใช้เครื่องมือทางธุรกิจ เพื่อวิเคราะห์ประเมินธุรกิจก่อนการดำเนินธุรกิจจริง ผู้ประกอบการนักศึกษารายใหม่สามารถสร้างความเฉียบคมทางธุรกิจ (Business Acumen) ในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้วยกลยุทธ์ใหม่ ๆ ของตัวเอง ผ่านการแนะนำโดย Mentor ที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านแก่ผู้ประกอบการนักศึกษารายใหม่ ก่อให้เกิดผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยีใหม่ในระบบเศรษฐกิจอย่างเต็มขีดความสามารถ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้วิธีการสร้างแรงบันดาลใจและตระหนักถึงเป้าหมายการทำธุรกิจเกษตรและอาหารในอนาคต
เพื่อพัฒนาและต่อยอดระบบนิเวศการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยผ่านการสร้างแนวคิดทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการนักศึกษา
เพื่อให้เกิดความเข้าใจและพัฒนากลไกการนำเสนอแนวคิดธุรกิจเพื่อหาผู้ร่วมทุน (Pitching) ตลอดจนคัดเลือกแนวคิดธุรกิจที่มีความเป็นไปได้เชิงพาณิชย์ สู่การต่อยอดธุรกิจจริง
เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่กระบวนการบ่มเพาะธุรกิจสู่การเป็นผู้ประกอบนักศึกษาด้านเกษตรและอาหารอย่างเต็มรูปแบบในอนาคตอย่างยั่งยืน โดยผลักดันให้ผู้ประกอบการนักศึกษาเกิดการต่อยอดธุรกิจเกษตรและอาหารในรูปแบบนิติบุคคลหรือวิสาหกิจชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่ได้รับความรู้ผ่านการถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการ ภายใต้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
KPI 1 : นักศึกษาที่ได้รับความรู้ผ่านการถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการ ภายใต้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 200 200 600 ราย 600
ผลผลิต : นักศึกษาและบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร ด้วยหลักสูตร MJU Agri smart startup Academy
KPI 1 : นักศึกษาและบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร ด้วยหลักสูตร MJU Agri smart startup Academy จำนวน 4 Module
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 100 100 ราย 100
ผลผลิต : แนวคิดทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาที่มีความพร้อมในการต่อยอดเชิงพาณิชย์ในอนาคต
KPI 1 : แนวคิดทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาที่มีความพร้อมในการต่อยอดเชิงพาณิชย์ในอนาคต
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 10 10 ทีม 10
ผลผลิต : ธุรกิจ/โครงการของนักศึกษาที่ได้รับการต่อยอดเข้าสู่ระบบนิเวศด้านการเป็นผู้ประกอบการของมหาวิทยาลัย
KPI 1 : ธุรกิจ/โครงการของนักศึกษาที่ได้รับการต่อยอดเข้าสู่ระบบนิเวศด้านการเป็นผู้ประกอบการของมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 5 5 โครงการ 5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่ได้รับความรู้ผ่านการถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการ ภายใต้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ชื่อกิจกรรม :
1. กิจกรรมการถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้ประกอบการ (Inspiration Talk)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/06/2567 - 03/04/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ 25,000*3 ครั้ง เป็นเงิน 75,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 200*3 ครั้ง*35 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
3. ค่าเดินทางวิทยากร 6,000 บาท *จำนวน 2 คน* 3 ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท
4. ค่าที่พักวิทยากร 1,200 บาท *จำนวน 2 คน* 3 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
46,400.00 บาท 46,400.00 บาท 46,400.00 บาท 0.00 บาท 139,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ได้เป็นบุคลากรของรัฐ 3,000 บาท * 4 ชั่วโมง จำนวน 1 คน * 3 ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ได้เป็นบุคลากรของรัฐ 1,500 บาท * 4 ชั่วโมง จำนวน 1 คน * 3 ครั้ง เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
18,000.00 บาท 18,000.00 บาท 18,000.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 30,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน 38,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
20,000.00 บาท 20,000.00 บาท 28,200.00 บาท 0.00 บาท 68,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 261400.00
ผลผลิต : นักศึกษาและบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร ด้วยหลักสูตร MJU Agri smart startup Academy
ชื่อกิจกรรม :
2. กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร MJU Agri smart startup Academy จำนวน 4 Module

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/06/2567 - 03/04/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (Module 1) จำนวน 110 คน x 120 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 26,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (Module 1) จำนวน 110 คน x 35 บาท x 4 มื้อ เป็นเงิน 15,400 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่ห้องอบรม (Module 1) เป็นเงิน 6,000 บาท
4. ค่าเดินทางวิทยากร (Module 1) จำนวน 2 คน * 6,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
5. ค่าที่พักวิทยากร (Module 1) จำนวน 2 คน * 1,200 บาท (2 คืน) เป็นเงิน 4,800 บาท
6. ค่าจ้างเหมาช่างภาพ (Module 1) จำนวน 2 วัน * 5,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
7. ค่าอาหารกลางวัน (Module 2) จำนวน 110 คน x 120 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 26,400 บาท
8. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (Module 2) จำนวน 110 คน x 35 บาท x 4 มื้อ เป็นเงิน 15,400 บาท
9. ค่าเช่าสถานที่ห้องอบรม (Module 2) เป็นเงิน 12,000 บาท
10. ค่าเดินทางวิทยากร (Module 2) จำนวน 2 คน * 6,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
11. ค่าที่พักวิทยากร (Module 2) จำนวน 2 คน * 1,200 บาท (2 คืน) เป็นเงิน 4,800 บาท
12. ค่าจ้างเหมาช่างภาพ (Module 2) จำนวน 3 วัน * 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
13. ค่าอาหารกลางวัน (Module 3) จำนวน 110 คน x 120 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 26,400 บาท
14. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (Module 3) จำนวน 110 คน x 35 บาท x 4 มื้อ เป็นเงิน 15,400 บาท
15. ค่าเช่าสถานที่ห้องอบรม (Module 3) เป็นเงิน 12,000 บาท
16. ค่าเดินทางวิทยากร (Module 3) จำนวน 2 คน * 6,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
17. ค่าที่พักวิทยากร (Module 3) จำนวน 2 คน * 1,200 บาท (2 คืน) เป็นเงิน 4,800 บาท
18. ค่าจ้างเหมาช่างภาพ (Module 3) จำนวน 3 วัน * 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
19. ค่าอาหารกลางวัน (Module 4) จำนวน 110 คน x 120 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 26,400 บาท
20. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (Module 4) จำนวน 110 คน x 35 บาท x 4 มื้อ เป็นเงิน 15,400 บาท
21. ค่าเช่าสถานที่ห้องอบรม (Module 4) เป็นเงิน 12,000 บาท
22. ค่าเดินทางวิทยากร (Module 4) จำนวน 2 คน * 6,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
23. ค่าที่พักวิทยากร (Module 4) จำนวน 2 คน * 1,200 บาท (2 คืน) เป็นเงิน 4,800 บาท
24. ค่าจ้างเหมาช่างภาพ (Module 4) จำนวน 3 วัน * 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
165,700.00 บาท 165,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 331,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ (Module 1) จำนวน 2 คน × 16 ชั่วโมง × 1,200 บาท เป็นเงิน 38,400 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (Module 1) จำนวน 3 คน × 16 ชั่วโมง × 600 บาท เป็นเงิน 28,800 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ (Module 2) จำนวน 2 คน × 16 ชั่วโมง × 1,200 บาท เป็นเงิน 38,400 บาท
4. ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (Module 2) จำนวน 3 คน × 16 ชั่วโมง × 600 บาท เป็นเงิน 28,800 บาท
5. ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ (Module 3) จำนวน 2 คน × 16 ชั่วโมง × 1,200 บาท เป็นเงิน 38,400 บาท
6. ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (Module 3) จำนวน 3 คน × 16 ชั่วโมง × 600 บาท เป็นเงิน 28,800 บาท
7. ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ (Module 4) จำนวน 2 คน × 16 ชั่วโมง × 1,200 บาท เป็นเงิน 38,400 บาท
8. ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (Module 4) จำนวน 3 คน × 16 ชั่วโมง × 600 บาท เป็นเงิน 28,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
134,400.00 บาท 134,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 268,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน (Module 1) 20,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน (Module 2) 20,000 บาท
3. ค่าวัสดุสำนักงาน (Module 3) 5,000 บาท
4. ค่าวัสดุสำนักงาน (Module 4) 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
25,000.00 บาท 25,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 650200.00
ผลผลิต : แนวคิดทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาที่มีความพร้อมในการต่อยอดเชิงพาณิชย์ในอนาคต
ชื่อกิจกรรม :
3. กิจกรรมการสร้างความพร้อมในการต่อยอดเชิงพาณิชย์ในอนาคต (Pitching)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/06/2567 - 03/04/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.กัลย์  กัลยาณมิตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเดินทางคณะกรรมการ (Pitching : การนำเสนอเพื่อรับทุนสนับสนุนในการทำ Prototype) จำนวน 4 คน * 6,000 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
2. ค่าที่พักคณะกรรมการ (Pitching : การนำเสนอเพื่อรับทุนสนับสนุนในการทำ Prototype) จำนวน 4 คน * 1,200 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
3. ค่าสนับสนุนในการทำผลิตภัณฑ์ (Pitching : การนำเสนอเพื่อรับทุนสนับสนุนในการทำ Prototype) จำนวน 10 ทีม ทีมละ 50,000 บาท เป็นเงิน 500,000 บาท
4. ค่าอาหารกลางวัน (Pitching : การนำเสนอเพื่อรับทุนสนับสนุนในการทำ Prototype) จำนวน 110 คน x 120 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 26,400 บาท
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (Pitching : การนำเสนอเพื่อรับทุนสนับสนุนในการทำ Prototype) จำนวน 110 คน x 35 บาท x 4 มื้อ เป็นเงิน 15,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 570,600.00 บาท 0.00 บาท 570,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนกรรมการตัดสินการประกวดหรือแข่งขัน (Pitching : การนำเสนอเพื่อรับทุนสนับสนุนในการทำ Prototype) จำนวน 12 คน * 3,000 บาท เป็นเงิน 36,000 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ 600 บาท*3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 37,800.00 บาท 0.00 บาท 37,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 608400.00
ผลผลิต : ธุรกิจ/โครงการของนักศึกษาที่ได้รับการต่อยอดเข้าสู่ระบบนิเวศด้านการเป็นผู้ประกอบการของมหาวิทยาลัย
ชื่อกิจกรรม :
4. กิจกรรมติดตามผลและการต่อยอดเข้าสู่ระบบนิเวศด้านการเป็นผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/06/2567 - 03/04/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ 15,000 บาท*2 คน*10 เดือน เป็นเงิน 300,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการฯ 57,600 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดตกแต่งสถานที่ 30,000 บาท* 2 ครั้ง เป็นเงิน 60,000 บาท
4. ค่าเดินทาง คนละ 7,500 บาท จำนวน 2 คน 3 ครั้ง เป็นเงิน 45,000 บาท
5. ค่าที่พัก 1,450 บาท จำนวน 2 คน 2 คืน 3 ครั้ง เป็นเงิน 17,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
95,000.00 บาท 136,200.00 บาท 106,200.00 บาท 142,600.00 บาท 480,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 480000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล