21683 : กิจกรรมพัฒนาพื้นที่เพื่อสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.วราพร เขื่อนแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/6/2567 10:31:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วราพร  เขื่อนแก้ว
นาย ณัฐพล  ชมชวน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง อริศรา  สิงห์ปัน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักหอสมุด
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.1 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยทุกด้านให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 6.2 ด้านบริการสารสนเทศ (Smart Service, Smart Place)
เป้าประสงค์ 6.2.1 เป็นหน่วยงานที่บริการสนับสนุนการวิจัย (Research Support Service) ที่ครบวงจร
ตัวชี้วัด 6.2.1.2 จำนวนบริการที่นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการให้บริการ
กลยุทธ์ 6.2.1.2.1 พัฒนาและสนับสนุนให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริการ เพื่อก้าวสู่ Digital Services
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การออกแบบพื้นที่การเรียนรู้ (Design of Learning Space) มีบทบาทสำคัญในการสร้างสภาพแวดล้อมที่มีคุณภาพและสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ที่สร้างความประทับใจและความสุขสบายให้กับผู้ใช้บริการ พื้นที่ที่ถูกออกแบบอย่างสวยงามเหมาะสมจะช่วยสร้างบรรยากาศในการรับชมภาพยนตร์ อย่างสบาย โดยมีการจัดสรรทรัพยากรและอุปกรณ์การเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเครื่องมือทันสมัย เป็นพื้นที่การเรียนรู้ที่ทำให้ผู้ใช้บริการมีความสุขและปลอดภัย การตอบโจทย์การพัฒนาศักยภาพมนุษย์อย่างรอบด้านนั้น ต้องเริ่มจากการสร้างพื้นที่แห่งการเรียนรู้ ห้องสมุดในโลกปัจจุบันนี้ต้องเป็นมากกว่า “ห้องเงียบ” ความรู้ที่ได้จากห้องสมุดจะต้องไม่ถูกจำกัดอยู่แค่ในหนังสือ แต่เกิดจากการเรียนรู้แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันของผู้ที่เข้ามาใช้บริการแห่งการเรียนรู้ เพราะทุกวันนี้การเรียนรู้ไม่จำกัดอยู่แค่เฉพาะวัยเรียนและในโรงเรียนเท่านั้น แต่การเรียนรู้เป็นของทุกคน สำนักหอสมุด ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างพื้นที่เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ และการวิจัย จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาพื้นที่เพื่อสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพื้นที่สำนักหอสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้การทำวิจัยและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาทักษะแห่งอนาคตผ่านเทคโนโลยีการเรียนรู้ที่เข้ากับโลกสมัยใหม่ ให้กับนักศึกษา อาจารย์และบุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การปรับปรุงห้องสมุดด้วยการสร้างสรรค์พื้นที่ใหม่ๆและบริการใหม่ พร้อมกับการเปิดรับเทคโนโลยี รวมไปถึงการส่งเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้กับผู้ใช้บริการของห้องสมุด

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาพื้นที่สำนักหอสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้และการทำวิจัย
2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้การทำวิจัยและทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พื้นที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และผ่อนคลาย
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการให้บริการพื้นที่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พื้นที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และผ่อนคลาย
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการ movie conner
จัดมุมสร้างบรรยากาศในการรับชมภาพยนตร์ อย่างสะดวกสบายและทันสมัยต่อปัจจุบัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วราพร  เขื่อนแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายณัฐพล  ชมชวน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล