21652 : โครงการเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนแบบ Active Learning
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ธันวดี กรีฑาเวทย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/7/2567 14:58:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/07/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  คณาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ
แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา
กองทุนพัฒนาบุคลากร
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย(มิติที่2) โครงการเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนแบบ Active Learning
2567 191,300.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. ธันวดี  กรีฑาเวทย์
น.ส. ฐิตารีย์  พรหมเศรษฐการ
น.ส. นฤมล  คงขุนเทียน
น.ส. รักษ์พิกุล  วงศ์จักร์
น.ส. อาทิตยา  ธรรมตา
นางสาว บุษกร  ชัยวงค์
นาย ขวัญชัย  นามเผ้า
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยุวลี  อันพาพรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สนิท  สิทธิ
ดร. สราวุธ  สอนใจ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.1 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ สบพ.67 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สนับสนุนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
เป้าประสงค์ สบพ.67 2.3. มีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมแบบ Lifelong Learning
ตัวชี้วัด สบพ.67 7. ระดับความพึงพอใจของอาจารย์ที่เข้ารับการอบรม
กลยุทธ์ สบพ.67 2.3.2.1. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัยเพื่อให้เป็นไปในแนวทางการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การจัดการเรียนรู้เชิงรุก หรือ Active Learning คือ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ และลงมือทำ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning) ครอบคลุมวิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลายวิธี เช่น การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) การเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) เรียนรู้จากการทำงานร่วมกัน (Cooperative Learning) และเรียนรู้จากการสำรวจค้นหา (Inquiry Based Learning) ฯลฯ ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนควรเสริมเทคนิค Active learning เข้าไป เพื่อให้บทเรียนเกิดความน่าสนใจและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีเป้าหมายคือช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนจากวิธีการที่ต่างกัน และช่วยให้ได้รับรู้ข้อมูลในแนวทางที่สนุกสนานและดึงดูดความสนใจผู้เรียนได้มากขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อให้คณาจารย์ที่ผ่านการฝึกอบรมฯ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ACTIVE LEARNING
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและกระบวนการ ACTIVE LEARNING
KPI 1 : ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมการอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและกระบวนการ ACTIVE LEARNING
ชื่อกิจกรรม :
โครงการเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อส่งเสริมสมรรถนะอาจารย์ตามกรอบมาตรฐาน Thailand PSF

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/08/2567 - 09/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ธันวดี  กรีฑาเวทย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ฐิตารีย์  พรหมเศรษฐการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.นฤมล  คงขุนเทียน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รักษ์พิกุล  วงศ์จักร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อาทิตยา  ธรรมตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางสาวบุษกร  ชัยวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายขวัญชัย  นามเผ้า (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 4 มื้อๆ ละ 100 บาท จำนวน 100 คน = 40,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 มื้อ ๆละ 400 บาท จำนวน 100 คน = 80,000 บาท
3. ค่าพาหนะเดินทางสำหรับวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 9,000 บาท = 18,000 บาท
4. ค่าที่พัก วิทยากร 2 คืนๆ ละ 1700 บาท จำนวน 2 ห้อง = 6,800 บาท
5. ค่ารับรองอาหารมื้อเย็นวิทยากร จำนวน 1 มื้อๆ ละ 400 บาท จำนวน 7 คน = 2,800 บาท
6. ค่าของที่ระลึกสำหรับวิทยากร คนละ 1000 บาท จำนวน 2 คน = 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 149,600.00 บาท 149,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ ละ 12 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท = 38,400 บาท
2. ค่าตอบแทนเพิเศษการปฏิบัติงานเกินระยะเวลาทำการ จำนวน 10 ชั่วโมง ๆ ละ 30 บาท = 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 38,700.00 บาท 38,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุเชื้อเพลิง 2 เที่ยวๆ ละ 500 บาท = 1000 บาท
2.ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 100 ชุดๆ ละ 20 บาท = 2,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 191300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
กำหนดการ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล