21605 : โครงการกระบวนการสร้างการเรียนรู้ชุมชนเพื่อเรียนรู้สิ่งแวดล้อมและเป็นผู้ประกอบการชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/5/2567 17:19:51
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/06/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ชั้นปีที่ 1-3
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากเงินรับฝาก ประจำปีประมาณ พ.ศ.2567 จากนายปิติ เล้าสกุล 2567 2,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.3 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
ตัวชี้วัด 67-6.3.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-6.3.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มา ประยุกต์ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการชุมชนในแต่ละพื้นที่ ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อสนองตอบปรัชญาที่ว่า “ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการเป็นนักจัดการการเปลี่ยนแปลงทางสังคม” นั้น ความรู้ ความเข้าใจในปรัชญา วัตถุประสงค์ เป้าหมายของหลักสูตร ตลอดถึงการวางแผนพัฒนาการเรียนรู้ และการพัฒนาทักษะของนักศึกษาในแต่ละชั้นปีนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่ง สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการชุมชน ที่มีศาสตร์หลากหลายกลุ่มวิชา ที่สามารถบูรณาการทั้งหมดเข้าใช้กับงานชุมชน อันได้แก่ กลุ่มวิชาการเมืองการปกครอง กลุ่มวิชาสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มวิชาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศชุมชน กลุ่มวิชากลุ่มและองค์ในชุมชน กลุ่มวิชากฎหมาย โดยกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับชุมชน จะมีกลุ่มวิชาทฤษฏีและแนวคิดในการพัฒนาและการจัดการชุมชน กลุ่มวิชาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำโครงการชุมชน ตลอดจนกลุ่มวิชาทักษะในการจัดการชุมชน เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นนักศึกษาที่เป็นคนเก่ง คนดี ความสุข ด้วยการเป็นผู้ซึ่งคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น มีภาวะผู้นำที่มีความน่าเชื่อถือ การแสวงหาความรู้ ให้สอดรับกับการเป็นบัณฑิตที่มีความรู้และความสามารถได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ แนวทางการจัดการเรียนรุ้ในศตวรรษที่ 21 ต้องมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาทักษะที่สำคัญในการใช้ชีวิตและทำงานในศตวรรษที่ 21 โดยมีอยู่ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 2) ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี และ 3) ทักษะชีวิตและอาชีพ ดังนั้น การเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาซึ่งต้องไปทำงานร่วมกับคนในสังคม ชุมชน นอกจาการพัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ นวัตกรรมแล้ว ทักษะกลุ่มที่ 3 ก็จำเป็นต้องมีการพัฒนาเรียนรู้เช่นเดียวกัน ทางสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการชุมชนจึงเห็นความสำคัญในการจัดโครงการกระบวนการสร้างการเรียนรู้ชุมชนเพื่อเรียนรู้สิ่งแวดล้อมและเป็นผู้ประกอบการชุมชน โดยเน้นเรื่องการสร้างการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมและเป็นผู้ประกอบการของชุมชน เพี่อให้ผู้นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนในสาขาวิชาการจัดการชุมชน การใช้ชีวิต รวมไปถึงการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ อีกทั้งยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริงและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อส่งเสริมกระบวนการสร้างการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมของชุมชน
2 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ และเสริมสร้างประสบการณ์ทำงาน ด้านวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา
3 เพื่อบูรณาการโครงการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะการเรียนรู้ ทักษะชีวิต และอาชีพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาสาขานวัตกรรมการจัดการชุมชนมีทักษะในการเป็นผู้ประกอบการ และเสริมสร้างประสบการณ์ทำงาน ด้านวิชาการและวิชาชีพ
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 2 : ร้อยละนักศึกษาสาขานวัตกรรมการจัดการชุมชนมีทักษะในการเป็นผู้ประกอบการ และเสริมสร้างประสบการณ์ทำงาน ด้านวิชาการและวิชาชีพในระดับที่น่าพึงพอใจ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของนักศึกษาสาขานวัตกรรมการจัดการชุมชนทั้ง 4 ชั้นปี มีความเข้าใจกระบวนการการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาสาขานวัตกรรมการจัดการชุมชนมีทักษะในการเป็นผู้ประกอบการ และเสริมสร้างประสบการณ์ทำงาน ด้านวิชาการและวิชาชีพ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ "กระบวนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมชุมชน"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/06/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ดวงพร  เพิ่มสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปณิธี  บุญสา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จันทร์จิรา  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 700 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 900.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มทักษะในการเป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษาสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/06/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ดวงพร  เพิ่มสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปณิธี  บุญสา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จันทร์จิรา  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 700 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,100.00 บาท 1,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล