21574 : โครงการพัฒนาทักษะการคิดของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/5/2567 14:38:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
30/05/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน ชั้นปีที่ 1-4 มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดวงพร  เพิ่มสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-1 การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 67-1.3 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-1.3.7 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-1.3.7.2 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่ หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการชุมชนในแต่ละพื้นที่ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อสนองตอบปรัชญาที่ว่า "ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการเป็นนักจัดการการเปลี่ยนแปลงทางสังคม" นั้น ความรู้ความเข้าใจในปรัชญา วัตถุประสงค์ เป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนการวางแผนพัฒนาการเรียนรู้ และการพัฒนาทักษะของนักศึกษาในแต่ละชั้นปี นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่ง สาขาวิชาการจัดการชุมชน ที่มีศาสตร์หลากหลายกลุ่มวิชา ที่สามารถบูรณาการทั้งหมดเข้าใช้กับงานชุมชน อันได้แก่ กลุ่มวิชากรเมืองการปกครอง กลุ่มวิชาสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญยาท้องถิ่น กลุ่มวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศชุมชน กลุ่มวิชากลุ่มและองค์ในชุมชน กลุ่มวิชากฎหมาย ดดยกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับชุมชน จะมีกลุ่มวิชาทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาและการจัดการชุมชน กลุ่มวิชาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำโครงการชุมชน ตลอดจนกลุ่มวิชาทักษะในการจัดการชุมชน เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนานักศึกาาสู่การเป็นนักศึกษาที่เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข ด้วยการเป็นผู้ซึ่งคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น มีภาวะผู้นำที่มีความน่าเชื่อถือ การแสวงหาความรู้ ให้สอดรับกับการเป็นบัณฑิตที่มีความรู้และความสามารถได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพ ด้านทักาะการคิด (Thinking Skills) ของบุคคล จึงมีความสำคัญตั้งแต่การคิดพื้นฐานจนถึงขั้นสูง รวมทั้งทักษะอื่นๆ ที่ส่งต่อระบบคิดและการเรียนรู้ เช่น การสื่อความหมาย การสื่อสาร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการรับรู้ การฟัง อ่าน เขียน ส่วนในเรื่องของการปรับทัศนคติ เพื่อสร้างจิตสาธารณะ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของผู้ที่ศึกษาและทำงานเกี่ยวกับชุมชน จึงจำเป็นต้องมี ต้องอาศัยทักษะการคิดในระดับสูง เพื่อมาปรับใช้ในการสร้างความตระหนัก จนสามารถประยุกต์ใช้ในการทำงานหรือสร้างโครงการเพื่อสังคม นอกจากนี้ ทักษะการแสดงออกในทางปฏิบัติความเป็นผู้นำนั้น เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องสอดแทรกไปในทุกกระบวนเรียนรู้เพื่อพัฒนาไปพร้อมๆกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งทักษะดังกล่าวทั้งหมด มี "สมอง" เป็นกลไกที่สำคัญที่สุด บุคคลที่มีทักษะการคิดผนวกกับวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ทันยุคทันสมัยและพัฒนาก้าวหน้าไปสู่สิ่งที่ดีกว่าเสมอ อีกทั้งยังช่วยให้การปรับปรุงปรับปรุงแก้ไขปัญหาเกิด การคิด ตัดสินใจ ในการเผชิญสถานการณ์ บังเกิดผลดียิ่งขึ้น เป็นผลให้เกิดการปฏิบัติงานที่ดี และเกิดประโยชน์ต่อสังคม ทางสาขาวิชาการจัดการชุมชน จึงเห็นความสำคัญในการจัดโครงการเตรียมความพร้อมในการศึกษา และพัฒนาศักยภาพนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการคิด (Thinking Skills) ตามทฤษฎีของบลูม (Bloom's Taxonomy) เพื่อให้ผู้นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนเรียนสาขาวิชาการจัดการชุมชน เพื่อเสริมสร้างและพัฒนานักศึกษาให้มีขีดความสามารถที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการใช้ชีวิตมุ่งสู่เป้าหมายของการเป็นบัณฑิตที่ดีมีคุณภาพดังกล่าวต่อไป อีกทั้ง ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษาสาวิชาการจัดการชุมชนมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้พัฒนาทักษะการคิดให้เป็นระบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชนมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้มีการปรับทัศนคติในเรื่องการทำงานเพื่อชุมชน และสร้างจิตสาธารณะในตนเอง
3. เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชนมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ สามารถนำทักษะด้านต่างๆ พร้อมเทคนิคไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการปฏิบัติจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการคิดของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจและมีระดับทักษะการคิดเพิ่มมากขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมมีผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับที่ดีขึ้นกว่าก่อนการเข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการคิดของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะด้านการคิดให้เป็นระบบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ดวงพร  เพิ่มสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปณิธี  บุญสา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จันทร์จิรา  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างทัศนคติในการทำงานเพื่อชุมชน และสร้างจิตสาธารณะในตนเอง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ดวงพร  เพิ่มสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปณิธี  บุญสา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จันทร์จิรา  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล