21567 : โครงการ MAGLEAD # 3 : ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย Well-being @ Chumphon
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ดร.ณรงค์ โยธิน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/7/2567 11:49:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/05/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  คณะผู้บริหาร บุคลากร นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อองค์กร เช่น ผู้แทนองค์กรของรัฐ และเอกชน ผู้แทนชุมชน ศิษย์เก่า และผู้ประกอบการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 97,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. ณรงค์  โยธิน
น.ส. เยาวลักษณ์  อภิวัฒนเสวี
น.ส. สุวนันท์  สุวรรณเนาว์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน  มะโนชัย
อาจารย์ ดร. ภาวิดา  รังษี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.1 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยทุกด้านให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.6 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.1 ความสำเร็จของการบริการจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 1. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย สภามหาวิทยาลัยด้านทรัพย์สิน การเงินและการลงทุน
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 4.1.4 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 47. ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การจัดทำแผนพัฒนาสำหรับองค์กรเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐแนวใหม่ เป็นกระบวนการเชิงวิเคราะห์ที่ผ่านกระบวนการจัดทำอย่างมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางและแนวทางการพัฒนาองค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับสถานภาพภายใต้บริบทแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และอื่นๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง เป็นเครื่องมือที่ใช้เป็นกรอบการกำหนดทิศทางการปฏิบัติและการพัฒนาองค์กร และเป็นแนวทางให้บุคลากรและหน่วยงานต่างๆในองค์กรใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติต่อไปและช่วยส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ดังนั้นการจัดทำแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรจึงจำเป็นจะต้องสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆในพื้นที่ในการพัฒนาร่วมกัน ซึ่งที่ผ่านมามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรก็มีการประสานความร่วมมือในการพัฒนากับภาคส่วนต่างๆทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่เป็นอย่างดีแต่ก็ยังพบข้อจำกัดบางประการที่ยังทำให้การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรกับหน่วยงานและภาคส่วนในพื้นที่ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร โครงการ MAGLEAD#3 : ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย Well-being @ Chumphon จัดทำขึ้นเพื่อเชิญหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆในจังหวัดชุมพรมาร่วมกันกำหนดทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรร่วมกัน เพื่อพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาในด้านต่างๆในจังหวัดชุมพรให้มีความสอดรับกันเพื่อเป็นประโยชน์ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้และหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดชุมพรในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจังหวัดชุมพรและพื้นที่ภาคใต้ตอนบนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร คุณภาพทางการศึกษาและคุณภาพชีวิต
เพื่อสร้างการรับรู้ถึงศักยภาพและทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรแก่ภาคส่วนต่างๆ
เพื่อเกิดแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรในลักษณบูรณาการ
เพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แผนยุทธศาสตร์เกษตรสุขภาวะ (WBC)
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมประชาพิจารณ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 3 : รายงานแผนงาน/โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาด้านต่างๆ (เกษตร อาหาร การประมง การท่องเที่ยว ฯลฯ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฉบับ 1
ผลผลิต : หลักสูตรฝึกอบรมของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แผนยุทธศาสตร์เกษตรสุขภาวะ (WBC)
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำประชาพิจารณ์แผนยุทธศาสตร์เกษตรสุขภาวะ (WBC)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/05/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ภาวิดา  รังษี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุวนันท์  สุวรรณเนาว์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เยาวลักษณ์  อภิวัฒนเสวี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทาง (ค่าพาหนะ ค่าที่พัก) สำหรับวิทยากร และผู้เข้าร่วมกิจกรรม ฯลฯ เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (กิจกรรมเสวนา)
1. วิทยากรหลัก จำนวน 7 ชั่วโมงๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท
2. ผู้ช่วยวิทยากร จำนวน 7 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง สำหรับรถยนต์ปฏิบัติงาน เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่ากระดาษ, ค่าถ่ายเอกสาร, กระดาษบรูฟ, ปากกาเคมี ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50100.00
ผลผลิต : หลักสูตรฝึกอบรมของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
จัดทำหลักสูตรฝึกอบรม ด้านพืชเศรษฐกิจเขตร้อน เช่น ทุเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/05/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ภาวิดา  รังษี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุวนันท์  สุวรรณเนาว์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เยาวลักษณ์  อภิวัฒนเสวี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทาง (ค่าพาหนะ) สำหรับวิทยากร และผู้เข้าร่วมกิจกรรม ฯลฯ เป็นเงิน 14,450 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,450.00 บาท 0.00 บาท 14,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก ตามจ่ายจริง จำนวน 2 ห้องๆ ละ 1 คืนๆ ละ 900 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (กิจกรรมเสวนา) จำนวน 2 คนๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่ากระดาษ, ค่าถ่ายเอกสาร, กระดาษบรูฟ ปากกาเคมี ฯลฯ เป็นเงิน 3,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,750.00 บาท 0.00 บาท 3,750.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 27000.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรอบรม ด้านการดำน้ำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ภาวิดา  รังษี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบสูจิบัตร (e-book) และโบว์ชัวหลักสูตรดำน้ำ
1.1 สูจิบัตร
- ขนาด 14.5 * 21 cm จำนวน 28 หน้า รวมปก 4 สีทั้งเล่ม
1.2 โบว์ชัวหลักสูตรดำน้ำ
- ขนาด 14.5 * 21 cm พับครึ่ง (A6)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,023.00 บาท 0.00 บาท 8,023.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดพิมพ์โบว์ชัวหลักสูตรดำน้ำ
- ขนาด 14.5 * 21 cm พับครึ่ง (A6) ตีเส้นพับ
- กระดาษอาร์ต 140 แกรม พิมพ์ 4/4 สี จำนวน 4 หน้า
- จำนวนพิมพ์ 1500 ชุดๆ ละ 7.918 บาท เป็นเงิน 11,877 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,877.00 บาท 0.00 บาท 11,877.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล