21554 : โครงการพัฒนาระบบงานฟาร์มเพื่อสนับสนุนการหารายได้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/5/2567 11:51:58
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/05/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  6  คน
รายละเอียด  บุคลากรในคณะด้านงานฟาร์ม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ของคณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 20,000 บาท 2567 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ประเสริฐ  ประสงค์ผล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จอมสุดา  ดวงวงษา
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.3 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม(Intelligent Agriculture)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.3.1.2 พัฒนาระบบฟาร์มของมหาวิทยาลัย สู่การเป็นต้นแบบของระบบการเกษตรที่มีความทันสมัย เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ FT-67-1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
ตัวชี้วัด FT-67-1.1.1.(1) ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
กลยุทธ์ FT-67-1.1.5 ขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-5 การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ FT-67-5.1 มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด FT-67-5.1.1.(1) จำนวนงบประมาณจากแหล่งอื่น ๆ
กลยุทธ์ FT-67-5.1.1 เพิ่มช่องทางการหารายได้จากแหล่งอื่น (นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมการศึกษา)
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-6 การพัฒนาตามอัตลักษณ์ของคณะ
เป้าประสงค์ FT-67-6.1 พัฒนาอัตลักษณ์ตามจุดเน้นของคณะ
ตัวชี้วัด FT-67-6.1.1.(1) การพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสมัยใหม่
กลยุทธ์ FT-67-6.1.1 พัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสมัยใหม่ และการปรับปรุงสายพันธุ์สัตว์น้ำ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อสร้างรายได้เพิ่มขึ้นและต้นทุนลดลงให้ของคณะฯ ซึ่งเป็นรายได้ส่วนหนึ่งของคณะ โดยมีกิจกรรมหลักในการหารายได้ คือ การผลิดและจำหน่ายพันธุ์สัตว์น้ำ โดย พันธุ์สัตว์น้ำที่เป็นชนิดหลักของงานฟาร์มคือ ปลานิลดำ ปลานิลแดง ปลาดุกรัสเซีย ปลาตะเพียน ปลายี่สก ปลาบ้า และ สัตว์น้ำชนิดอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตปลานิล/ปลานิลแดงแปลงเพศ โดยในปีงบประมาณ 2564 คณะได้รับการจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างอาคาร Smart Aquaculture ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้ สนับสนุนการเรียนการสอน งานวิจัย และการบริการวิชาการ และเป็นการเพิ่มช่องทางในการหารายได้ของงานฟาร์ม คือการขุนปลานิล/ปลานิลแดง ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นที่ สำหรับนำไปเลี้ยงต่อในระบบ Smart Aquaculture and Business นั้น แต่ทั้งนี้งานฟาร์มยังขาดระบบในการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรน้ำ การใช้พลังงานไฟฟ้า ที่เหมาะสม งานฟาร์มของคณะฯ จึงเล็งเห็นความสำคัญในการเพิ่มช่องทางในการรายได้ของงานฟาร์ม โดยการลดและการควบคุมการใช้ทรัพยากรน้ำ พลังงานไฟฟ้า จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบงานฟาร์มเพื่อสนับสนุนการหารายได้ โดยบูรณาการระหว่างการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ กิจกรรมนักศึกษา และ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนับสนุนในการหารายได้
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ระบบเติมน้ำอัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรน้ำ และการใช้พลังงานไฟฟ้า
KPI 1 : ระดับความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : จำนวนระบบที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ระบบ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ระบบเติมน้ำอัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรน้ำ และการใช้พลังงานไฟฟ้า
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาระบบงานฟาร์มเพื่อสนับสนุนการหารายได้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งระบบเติมน้ำอัตโนมัติในถังเก็บน้ำสำรองของอาคาร Smart Aquacultureเป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล