21553 : การเสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/05/2567  ถึง  30/06/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  อาจารย์ และบุคลากรค่ายทหาร พล.ร.7 ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในร้านค้าทหารพันธุ์ดี
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วินัย  บังคมเนตร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA67-G-6 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด BA67-KPI-18 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ BA67-S-18 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตัวชี้วัด BA67-KPI-19 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ BA67-S-19 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาธุรกิจด้านการเกษตรมีความสำคัญสำหรับการสร้างผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร เนื่องจากลักษณะของธุรกิจเกษตรจะมีความแตกต่างจากการดำเนินธุรกิจจากการจำหน่ายสินค้าประเภทอื่น ๆ ดังนั้นผู้ที่จะทำธุรกิจเกษตรต้องมีความรู้การเป็นผู้ประกอบการเกี่ยวกับธุรกิจเกษตร ทั้งนี้คณะบริหารธุรกิจถือเป็นหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและชำนาญในการดำเนินธุรกิจเกษตร จากประสบการณ์ในการบริการวิชาการและอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยที่เน้นความเป็นเกษตร ด้วยความร่วมมือระหว่างคณะผลิตกรรมการเกษตรกับค่ายทหาร พล.ร.7 ที่ได้มีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันในการพัฒนาพื้นที่และพัฒนาผลิตผลทางการเกษตร อาทิเช่น การจัดทำเมล็ดพันธุ์อินทรีย์ การปลูกพืช ผลไม้ ซึ่งมีความหลากหลายทางด้านพันธุกรรมซึ่งเป็นการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการในพระราชดำริ ในการดำเนินกิจกรรมในโครงการพระราชดำริได้มีผลผลิตทางการเกษตรที่นำมาสร้างรายได้เพื่อเป็นสวัสดิการให้กับค่ายทหาร พล.ร.7 ภายใต้ชื่อ “ร้านทหารพันธุ์ดี พล.ร.7” โดยค่ายฯ และคณะผลิตกรรมการเกษตร และคณะบริหารธุรกิจ ได้หารือร่วมกันในการทำธุรกิจของร้านทหารพันธุ์พันธุ์ดี ที่จำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรไปยังลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย/ตลาดเป้าหมาย การพัฒนาธุรกิจเกษตรอินทรีย์ของร้าน D7 มีกิจกรรมที่มีความต่อเนื่องจากการบริการวิชาการในสาขาวิชาการจัดการและการเงินที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณต้นทุนและการบริหาจัดการร้านค้า โดยในเดือน พฤศจิกายน 2566 “ร้านทหารพันธุ์ดี พล.ร.7” ได้เริ่มเปิดดำเนินกิจการเพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2567 ครบ 2 ไตรมาศ ซึ่งผู้ประสานงานได้จัดส่งรายงานการดำเนินงาน รวมถึงปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ให้แก่งานบริการวิจัยและบริการวิชาการคณะบริหารธุรกิจ เพื่อขอความอนุเคราะห์ให้ฝ่ายงานวิจัยและบริการวิชาการได้ให้คำปรึกษาและแนะนำการดำเนินกิจการตลอดจนพัฒนาศักยภาพการใช้โปรแกรม POS และการจัดทำรายงานผลประกอบการ ดังนั้นในส่วนงานวิจัยและบริการวิชาการจึงได้ประชุมตัวแทนสาขาเพื่อดำเนินกิจกรรม ทั้งนี้ตัวแทนสาขาประกอบด้วย สาขาการจัดการ สาขาการเงิน สาขาการตลาด และสาขานวัตกรรมธุรกิจดิจิทัลจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อร่วมดำเนินงานร่วมกับค่ายทหาร พล.ร.7 เพื่อให้การประกอบการธุรกิจดำเนินการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อบูรณาการศาสตร์การบริหารจัดการอันได้แก่ การเงิน การจัดการ การตลาด การทำสื่อดิจิทัล และสารสนเทศ ในการวางแผนและการวางระบบของร้าน D7
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการใช้ระบบขายหน้าร้าน (POS)
เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้กับบุคลากรร้าน D7
เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาได้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางธุรกิจเกษตรอินทรีย์ร่วมกับร้าน D7
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์มีศักยภาพด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม (แบบสอบถาม)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์มีศักยภาพด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์มีศักยภาพด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
เสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2567 - 31/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วินัย  บังคมเนตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุธาวัลย์  สัจจสมบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล