21534 : โครงการเสริมทักษะผลิตงานสร้างสรรค์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/07/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  303  คน
รายละเอียด  นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา นศ 321 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ จำนวน 173 คน และ 10701110 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ จำนวน 130 คน รวมทั้งสิ้น 303 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาศิลปศาสตร์ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2567 10,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ณัฏฐพงษ์  สายพิณ
อาจารย์ ธนิยาภรณ์  ศรีหาตา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.1.1 พัฒนาแผนแม่บทวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.2.1 พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA67 -2.2 เสริมสร้างทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด LA67-2.2.11 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ LA67 -3. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการส่งเสริมทักษะผลิตงานสร้างสรรค์เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกวางแผน ออกแบบ ดำเนินกิจกรรม และผลิตผลงานสร้างสรรค์สื่อในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีการบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนรายวิชาของสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561 และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2566 ได้แก่ รายวิชา นศ 321 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และ 10701110 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของสื่อสิ่งพิมพ์ ทฤษฎี องค์ประกอบทางศิลปะและการออกแบบ พื้นฐานการออกแบบสิ่งพิมพ์ การวางโครงสร้างการออกแบบสิ่งพิมพ์ และเทคนิคการออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรม การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล การนำเสนอผลงานการออกแบบ การเผยแพร่สิ่งพิมพ์สู่สาธารณะ ภายใต้กรอบจริยธรรม จรรยาบรรณในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อบูรณาการการจัดการเรียนการสอน รายวิชา นศ 321 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และ 10701110 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เพื่อพัฒนาทักษะการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้กับนักศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้เข้าร่วมโครงการเสริมทักษะผลิตงานสร้างสรรค์
KPI 1 : ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : นักศึกษามีทักษะการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
KPI 1 : นักศึกษามีทักษะการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ผ่านเกณฑ์การวัดผล
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
ผลผลิต : ผลงานสร้างสรรค์ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
KPI 1 : จำนวนผลงานสร้างสรรค์ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ประเภท 4
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้เข้าร่วมโครงการเสริมทักษะผลิตงานสร้างสรรค์
ชื่อกิจกรรม :
WORKSHOP - COLORFUL CREATIONS: SCREEN PRINTING

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ธนิยาภรณ์  ศรีหาตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท 10,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10400.00
ผลผลิต : นักศึกษามีทักษะการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
ชื่อกิจกรรม :
WORKSHOP - UPSKILL ADOBE (INDESIGN)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธนิยาภรณ์  ศรีหาตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ผลผลิต : ผลงานสร้างสรรค์ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
ชื่อกิจกรรม :
PRESENTATION - PRINTED MEDIA DESIGN & PUBLICATION PROJECT

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธนิยาภรณ์  ศรีหาตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนเครื่องและประสิทธิภาพคอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรม ADOBE สำหรับใช้ในการผลิตผลงานไม่เพียงพอ
พื้นที่และขนาดห้องเรียนไม่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานกับสำนักหอสมุด และกองเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอความอนุเคราะห์นักศึกษาใช้คอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรม ADOBE โดยให้บริหารเวลาอย่างเหมาะสม
ประสานงานกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเพื่อขอความอนุเคราะห์ใช้พื้นที่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
ช่วงเวลา : 01/07/2567 - 31/10/2567
ตัวชี้วัด
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อพัฒนาทักษะการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้กับนักศึกษา 80 การจัดทำ OBE.3, OBE.5 และการประกันคุณภาพหลักสูตร
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล