21522 : โครงการการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจประมง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/05/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรของคณะฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมหลักจัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาเทคโนโลยีการประมงฯ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 50,000 บาท 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดารชาต์  เทียมเมือง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.3 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.4 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.5 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.6 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.7 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.8 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-67-2.1 ผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพ และส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-67-2.1.8.(8) ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FT-67-2.1.5 พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพในสาขาวิชาและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-67-2.1.10.(10) จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-67-2.1.5 พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพในสาขาวิชาและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ FT-67-4.1 สนับสนุนด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด FT-67-4.1.1.(1) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FT-67-4.1.1 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-67-4.1.1.(2) ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-67-4.1.1 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-67-4.1.1.(3) หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-67-4.1.1 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-67-4.1.1.(4) ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FT-67-4.1.1 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-6 การพัฒนาตามอัตลักษณ์ของคณะ
เป้าประสงค์ FT-67-6.1 พัฒนาอัตลักษณ์ตามจุดเน้นของคณะ
ตัวชี้วัด FT-67-6.1.1.(3) จำนวนนักศึกษาที่กลับไปประกอบอาชีพทางการประมงในภูมิลำเนาของตนเอง
กลยุทธ์ FT-67-6.1.3 ส่งเสริมการปฏิบัติจริงให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพทางการประมงที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่กระทรวงอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้ดำเนินโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) มาอย่างต่อเนื่องและกำหนดให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้จัดอยู่ในกลุ่มที่ 2 ซึ่งเป็นกลุ่มที่มุ่งเน้นพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม มียุทธศาสตร์ที่มุ่งสร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีให้สามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์เพื่อสร้างผลงานและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จนเกิดการสร้างนวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ นำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการผลิตและบริการ รวมทั้งการเน้นการเรียนการสอนควบคู่กับการปฏิบัติการจริง เพื่อพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการทำงาน สำหรับการขับเคลื่อนภารกิจดังกล่าว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้รับการอนุมัติกรอบงบประมาณโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ภายใต้โครงการยกระดับระบบนิเวศน์นวัตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจ เทคโนโลยี นวัตกรรมเกษตรและอาหารขั้นสูง ทางคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำได้มีการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะการคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดแก้ปัญหา ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และทักษะการทำงานเป็นทีมและการมีมนุษยสัมพันธ์ ในการพัฒนาสู่การเป็นผู้ปะกอบการ พร้อมทั้งปรับตัวให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง คณะเทคโนโลยีการประมงฯ และคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา ได้มีการจัดทำโครงการการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจประมง โดยบูรณาการระหว่างการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และกิจกรรมนักศึกษา ซึ่งเป็นการการสนับสนุนให้นักศึกษาได้เรียนรู้และได้รับประสบการณ์ ณ สถานที่จริง โดยเรียนรู้ในด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการ ทั้งนี้จะมีการเชื่อมโยงกับอีกกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมให้คณาจารย์เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ การเร่งรัดการเติบโตของธุรกิจนวัตกรรมอาหาร ที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก ภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ที่ดำเนินงานโครงการ FOREFOOD: Deep Tech Business Accelerator (แพลตฟอร์มเร่งรัดการเติบโตของธุรกิจนวัตกรรมอาหาร ที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก) ที่แบ่งเป็น Bootcamp จำนวน 3 ครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันให้ อาคารนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมงได้รับการจัดตั้งในรูปแบบบริษัท (Holding company) เพื่อสร้างรายได้ให้กับคณะฯ จากนั้นจึงนำองค์ความรู้จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการมาถ่ายทอด จัดอบรมให้กับนักศึกษาได้เรียนรู้แนวทางในการเป็นผู้ประกอบการ การดำเนินธุรกิจ โดยจัดอบรมทั้งบรรยายและปฏิบัติการ เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำเสนอผลงาน ผลลัพธ์จากการดำเนินการตามแพลตฟอร์มดังกล่าวสามารถผลักดันให้ นศ.สามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอด/พัฒนาสู่การการเป็นผู้ประกอบการได้ต่อไป โดยรายละเอียดโครงการมีองค์ประกอบหลักในการพัฒนา ดังนี้ การดำเนินงานช่วงต้นน้ำ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการศักยภาพของนักศึกษาในด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการ โดยมีการนำนักศึกษาไปเรียนรู้และได้รับประสบการณ์ ณ สถานที่จริง ควบคู่กับกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของคณาจารย์ในด้านการเป็นผู้ประกอบการ โดยมีการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในโครงการ เร่งรัดการเติบโตของธุรกิจนวัตกรรมอาหาร ที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก การดำเนินงานช่วงกลางน้ำ เป็นกิจกรรมการฝึกอบรมด้านการเป็นผู้ประกอบการให้กับนักศึกษา ได้แก่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมงต้นแบบ การวางแผนธุรกิจ จากคณาจารย์ที่ได้เข้าร่วมอบรมนำมาถ่ายทอด การดำเนินงานช่วงปลายน้ำ เป็นกิจกรรมจากการอบรมเชิงปฏิบัติการ (Bootcamp ครั้งที่ 3) ภายใต้โครงการ Foodfood : Deep Tech Business Accelerator (แพลตฟอร์มเร่งรัดการเติบโตของธุรกิจนวัตกรรมอาหาร ที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก) และนำมาต่อยอดเพื่อการจัดตั้งอาคารแปรรูปนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ประมงในรูปแบบบริษัท (Holding company) นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับความรู้และประสบการณ์จากการเรียนรู้จากสถานที่จริง และองค์ความรู้จากการอบรมเชิงปฏิบัติการสามารถนำมาประยุกต์ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการในอนาคต ขณะที่คณาจารย์สามารถนำองค์ความรู้มาใช้เป็นแนวทางในการจัดตั้งแปรรูปนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ประมงในรูปแบบบริษัท (Holding company)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการ สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในการฝึกปฏิบัติจริง
เพื่อให้คณาจารย์ได้มีองค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการ และสามารถนำมาถ่ายทอดให้กับนักศึกษา
เพื่อให้ได้แนวทางในการจัดตั้งอาคารแปรรูปนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ประมงในรูปแบบบริษัท (Holding company)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : คณาจารย์ได้รับการพัฒนาศักยภาพการในด้านการเป็นผู้ประกอบการ
KPI 1 : ตราสัญลักษณ์สินค้าสำหรับใช้ในผลิตภัณฑ์ ดังนี้ - โลโก้หลัก - นามบัตร ขนาด 9*5.5 ซม. - หัวจดหมาย/ซองจดหมาย/บัตรพนักงาน/แฟ้ม - พื้นหลังสำหรับประชุมออนไลน์ - ยูนิฟอร์มเสื้อโปโล - กระเป๋าผ้าขนาดใส่แฟ้มกระดาษ A4 - โปสเตอร์/ใบปลิว ขนาด 60*90 ซม. - ป้ายโรลอัพ ขนาด 80*200 ซม. - หน้าปก Facebook - เทมเพลต Facebook - เทมเพลตสำหรับนำเสนอ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แบบ 1
KPI 2 : จำนวนอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 คน 3
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพการในด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการ
KPI 1 : ระดับความรู้ที่ได้รับหลังจากเข้าร่วมอบรมการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจโดยรวมของนักศึกษาต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 3 : ร้อยละของนักศึกษาและบัณฑิตที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 22 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนรายวิชาที่ร่วมบูรณาการในกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 วิชา 3
KPI 5 : ร้อยละของกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : คณาจารย์ได้รับการพัฒนาศักยภาพการในด้านการเป็นผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์  เทียมเมือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วาธิณี  อินทรพงษ์นุวัฒน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นงพงา  แสงเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้จ่ายในเดินทางของคณาจารย์ (ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก และค่าพาหนะ) ที่เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 3 คน ๆ ละ 5,700 เป็นเงิน 17,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,100.00 บาท 0.00 บาท 17,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบตราสัญลักษณ์สินค้า เป็นเงิน 29,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 29,000.00 บาท 29,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 46100.00
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพการในด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการจัดอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจประมง
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมงต้นแบบ
- การวางแผนธุรกิจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์  เทียมเมือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วาธิณี  อินทรพงษ์นุวัฒน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นงพงา  แสงเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอัจฉรา  เสาวฤทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางกัลยารัตน์  วงศ์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากรและผู้เข้าอบรม จำนวน 25 คน จำนวน 1 วัน ๆ วันละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,750.00 บาท 1,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับวิทยากรและผู้เข้าอบรม จำนวน 25 คน จำนวน 1 วัน ๆ วันละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงานที่ใช้ในโครงการ เป็นเงิน 650 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 650.00 บาท 650.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล