21510 : โครงการพัฒนาบุคลากรสำนักงานคณบดี คณะผลิตกรรมการเกษตร (ต่างประเทศ)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายกิตติชัย เกตุจิ๋ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2567  ถึง  30/06/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  18  คน
รายละเอียด  ผู้บริหารและบุคลากรประเภทสนับสนุนวิชาการ สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2567 สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป แผนงาน บริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนพัฒนาบุคลากร งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 3) โครงการพัฒนาบุคลากร สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร (ต่างประเทศ) 2567 100,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) ประจำปี พ.ศ. 2567 สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป แผนงาน บริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนพัฒนาบุคลากร งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการพัฒนาบุคลากร สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร (ต่างประเทศ) 2567 350,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วินัย  แสงแก้ว
นาง อภิชนา  วงศ์วารเตชะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.5.2.1 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.3 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.3.1 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 67 AP 2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ 67 AP 2.5.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนบุคลากรได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67 AP 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 3.1.3 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
กลยุทธ์ 67 AP 3.1.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนคณาจารย์และนักวิจัยสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย หรือแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะผลิตกรรมการเกษตร เล็งเห็นถึงความสำคัญการพัฒนาองค์กรให้ประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืน องค์กรจะต้องมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยจำเป็นต้องสร้างและรักษาบุคลากรกลุ่มดังกล่าวไว้ ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานตามสายงานที่ต้องมีการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการ องค์กรที่ประสบความสำเร็จในยุคของการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จะต้องมีระบบการบริหารจัดการตั้งแต่ขั้นตอนการเสาะแสวงหาบุคลากร (Sourcing) การคัดกรอง (Screening) การคัดเลือก (Selection) การกระจายไปทำงาน (Deployment) การพัฒนาบุคลากร (Development) ตลอดจนการรักษาให้คงอยู่กับองค์กร (Retention) อย่างมีความสุขการรักษาบุคลากรให้สามารถทำงานอยู่กับองค์กรได้ จะต้องมีการเรียนรู้และพัฒนาเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถและทักษะตามแนวทางที่องค์กรคาดหวัง ด้วยการส่งเสริมให้ได้ศึกษาเพิ่มเติม ฝึกอบรม ประชุม สัมมนา และศึกษาดูงานนอกสถานที่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมการทำงาน (Work Environment Dimension) ซึ่งตามนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว และสำนักงานสีเขียว ได้กำหนดนโยบายเพื่อให้การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และสำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างสังคมน่าอยู่ในชุมชนมหาวิทยาลัย และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อชุมชนและสังคมโดยรอบ ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม เพื่อความสำเร็จในการสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนนโยบาย Green U และ Green Office) ดังนั้น คณะผลิตกรรมการเกษตร จึงเป็นส่วนงานหนึ่งภายใต้ชุมชนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ร่วมกับระดับมหาวิทยาลัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยความร่วมมือของบุคลากรของส่วนงาน ในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (Green office) ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน ดังนั้น คณะผลิตกรรมการเกษตร พิจารณาแล้วเห็นว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่าเป็นประเทศที่พัฒนาและมีการพัฒนาทางด้านการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล รวมไปถึงนโยบาย Green China (จีนเขียว) เป็นนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานสะอาด เศรษฐกิจนิวเคลียร์ไฮโดรเจน รถยนต์ไฟฟ้า และการพัฒนาเชิงโครงสร้างสังคม เป้าหมายใหญ่ คือ การบรรจุเป้าหมายเป็นประเทศปลอดคาร์บอนหรือ Zero Emission ในปี 2060 พร้อมเป็นผู้นำด้านสิ่งแวดล้อมโลก หรือการพัฒนาสีเขียวของจีนในยุคใหม่ให้เห็นความสำเร็จของการทำงานด้าน Go Green รัฐบาลผลักดันรัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละเมืองออกแบบนโยบายสร้างคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนผ่านเทคโนโลยีขั้นสูง หลาย ๆ เมืองต้องพัฒนาตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เดินหน้าไปทิศทางเดียวกัน เช่น การเพิ่มสถานีชาร์จรถยนตร์ไฟฟ้า ระบบขนส่งสาธารณะระบบไฟฟ้า การฟื้นฟูระบบนิเวศในท้องถิ่น สนับสนุนการปล่อยคาร์บอนต่ำ โดยมีแนวทางแตกต่างกัน เช่น การนำเทคโนโลยีล้ำสมัยมาดูแลการบำบัดน้ำเสีย การรีไซเคิลขยะ และใช้ AI วิเคราะห์ปัญหามลพิษ หรือแม้แต่การใช้นวัตกรรมแก้ปัญหา ผลลัพธ์การเดินหน้านโยบาย Green China ได้รับคำชมเชยจากองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมหลายแห่ง และจีนเป็นหนึ่งประเทศผู้สร้างมลพิษรายใหญ่ที่สามารถบรรลุเป้าหมายการลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ลงได้สำเร็จ จึงเป็นโอกาสที่ดีในการศึกษา และพัฒนาอบรมบุคลากรของสำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการปฏิบัติงาน ที่มุ่งเน้นให้เท่าเทียมกับนานาประเทศ ตลอดจนดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (Green office) ให้คงความเป็นมาตราฐานตามนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว และสำนักงานสีเขียว อีกด้วย ประกอบกับ Hainan Foreray Star Pro Biotecoch Co., LTD. ซึ่งเป็นบริษัทเกี่ยวกับวัสดุเกษตร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่มีเครือข่ายของบริษัทมีการผลิตพืชอินทรีย์ พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ ให้ความสำคัญกับการรักษ์สิ่งแวดล้อม มีองค์ที่มีเครือข่ายทั่วประเทศจีนและต่างประเทศ ทางคณะผลิตกรรมการเกษตรมีความสนใจจะให้ทางผู้บริหารและบุคลากรสำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร เพื่อหารือความร่วมมือทางวิชาการ และการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษหรือนักศึกษาในอนาคต ตลอดจนศึกษาศึกษาดูงานในเรื่องการบริหารจัดการ และแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization) รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการ นั้น เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับสถานประกอบการระดับนานาชาติ รวมถึงการส่งเสริมความสามารถพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการ และศึกษาการปรับใช้แนวคิดการบริหารจัดการและแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization) คณะผลิตกรรมการเกษตร จึงได้จัดโครงการพัฒนาบุคลากรสำนักงานคณบดี คณะผลิตกรรมการเกษตร (ต่างประเทศ) ในระหว่างวันที่ 8 – 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 ณ Hainan Foreray Star Pro Biotecoch Co., LTD. and Foshan shijiujiu sheng wukeyiyouxian co.,Ltd, Guangzhou, China

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อศึกษาการปรับใช้แนวคิดการบริหารจัดการและแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization)
เพื่อส่งเสริมความสามารถพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการองค์กร
เพื่อสร้างเครือข่ายและหารือความร่วมมือทางวิชาการกับสถานประกอบการระดับนานาชาติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์กรสู่นานาชาติ และศึกษาการปรับใช้แนวคิดการบริหารจัดการและแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization)
KPI 1 : จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
16 คน 16
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
16 คน 16
KPI 4 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์กรสู่นานาชาติ และศึกษาการปรับใช้แนวคิดการบริหารจัดการและแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์กรสู่นานาชาติ และศึกษาการปรับใช้แนวคิดการบริหารจัดการและแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization)
ชื่อกิจกรรม :
หารือความร่วมมือทางวิชาการ และศึกษาศึกษาดูงานการบริหารจัดการ และแนวทางปฏิบัติมุ่งสู่องค์กรสีเขียว (Green Organization)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/05/2567 - 12/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรพินธุ์  สฤษดิ์นำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตั๋วเครื่องบิน จำนวน 14 คน ๆ ละ 14,300 บาท เป็นเงิน 200,200 บาท (งบประมาณเงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 200,200.00 บาท 0.00 บาท 200,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตั๋วเครื่องบิน จำนวน 4 คน ๆ ละ 14,300 บาท เป็นเงิน 57,200 บาท (งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 57,200.00 บาท 0.00 บาท 57,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (ต่างประเทศ) จำนวน 4 คืน ๆ ละ 600 บาท 14 คน ๆ เป็นเงิน 33,600 บาท (งบประมาณเงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 33,600.00 บาท 0.00 บาท 33,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (ต่างประเทศ) จำนวน 4 คืน ๆ ละ 600 บาท 4 คน ๆ เป็นเงิน 9,600 บาท (งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง (ต่างประเทศ) จำนวน 3 วัน ๆ ละ 2,100 บาท 14 คน เป็นเงิน 88,200 บาท (งบประมาณเงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 88,200.00 บาท 0.00 บาท 88,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง (ต่างประเทศ) จำนวน 3 วัน ๆ ละ 2,100 บาท 4 คน เป็นเงิน 25,200 บาท (งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 25,200.00 บาท 0.00 บาท 25,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าหนังสือเดินทาง จำนวน 14 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท (งบประมาณเงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าหนังสือเดินทาง จำนวน 4 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท (งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่ารถโดยสารไม่ประจำทาง (ภายในประเทศ) จำนวน 14 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท (งบประมาณเงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่ารถโดยสารไม่ประจำทาง (ภายในประเทศ) จำนวน 4 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท (งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 450000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล