21493 : โครงการอนุรักษ์กล้วยไม้พื้นถิ่น อำเภอร้องกวาง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/04/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  บุคลากร และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณฑล  นอแสงศรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.3 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.3.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.5 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 67-6.5.3 จำนวนโครงการบริการวิชาการ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 67-6.5.3.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กล้วยไม้ป่าเป็นพืชที่มีลักษณะวิสัยอาศัยอยู่ตามพื้นดินและส่วนใหญ่เป็นพืชอิงอาศัยที่พบได้ในทุกสภาพป่าในประเทศไทย ในสภาพป่าแต่ละประเภทมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์กล้วยไม้ที่แตกต่างกันและมีจำนวนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของป่า โดยเฉพาะไม้ต้นที่เหมาะสมสำหรับกล้วยไม้แต่ละชนิด กล้วยไม้จึงเป็นดัชนีบ่งชี้ความอุดมสมบูรณ์ของป่าอย่างหนึ่ง จากการทำลายป่าไม้อาจจะด้วยการเผาหรือการจัดป่าไม้เพื่อส่งเสริมด้านเศรษฐกิจในพื้นที่ท้องถิ่น ทำให้กล้วยไม้เฉพาะถิ่นถูกทำลายและหายไปจากพื้นที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของสภาพป่าเต็งรัง เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรบนฐานชีวภาพของท้องถิ่นเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านนิเวศวิทยาป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพด้านพืช เป็นตัวอย่างการรักษาทรัพยากรท้องถิ่นแก่ชุมชนและนักศึกษาโดยชุมชนมีส่วนร่วม มีประโยชน์ให้การเรียนรู้วิชาพฤกษศาสตร์และวิชาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง นำไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อรักษาชีวิต ลดการสูญเสียกล้วยไม้พื้นถิ่นจากการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการตัดแต่งต้นไม้ใหญ่ในเขตพื้นที่ถ้ำผานางคอย
2. เพื่ออนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้พื้นถิ่นในเขตพื้นที่ถ้ำผานางคอยให้คงไว้ในธรรมชาติ และขยายพันธุ์เพิ่มปริมาณในแหล่งธรรมชาติและนอกแหล่งธรรมชาติให้เพิ่มมากขึ้น
3. เพื่อเป็นแหล่งพันธุกรรมกล้วยไม้พื้นถิ่นบริเวณถ้ำผานางคอย จากแหล่งพันธุกรรมท้องถิ่น (On farm) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) ทั้งในแหล่งธรรมชาติ (In situ) และนอกแหล่งธรรมชาติ (Ex situ)
4. เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570) ฉบับปรับปรุง เป้าประสงค์ที่ 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : อนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้พื้นถิ่นในเขตพื้นที่ถ้ำผานางคอยให้คงไว้ในธรรมชาติ
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิขาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนกล้วยไม้พื้นถิ่นที่ได้รับการฟื้นชีวิต คืนสู่ป่าในบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ต้น 80
KPI 4 : จำนวนแหล่งเรียนรู้กล้วยไม้พื้นถิ่นในพื้นที่อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่งเรียนรู้ 1
KPI 5 : ร้อยละของชุมชน/หน่วยงานในชุมชนที่มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อธรรมชาติเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ร้อยละ 5
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 7 : จำนวนกล้วยไม้พื้นถิ่นบริเวณถ้ำผานางคอยได้รับการช่วยชีวิตจากการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการตัดแต่งต้นไม้ใหญ่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ต้น 100
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : จำนวนองค์ความรู้เรื่องการช่วยชีวิตกล้วยไม้จากการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการตัดแต่งต้นไม้ใหญ่ เพื่อการฟื้นฟูและคืนสู่ธรรมชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : อนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้พื้นถิ่นในเขตพื้นที่ถ้ำผานางคอยให้คงไว้ในธรรมชาติ
ชื่อกิจกรรม :
1) การเก็บรวบรวมและช่วยชีวิตกล้วยไม้พื้นบ้านบริเวณถ้ำผานางคอยจากการปรับปรุงภูมิทัศน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
2) การอนุบาลและฟื้นฟูกล้วยไม้พื้นบ้าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
3) การจัดทำข้อมูลกล้วยไม้ที่นำมาอนุบาลและฟื้นฟู

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
4) การปลูกคืนกล้วยไม้พื้นบ้าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
5) การสรุปและจัดทำรายงานผลโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล