21474 : โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และเกษตรสุขภาวะองค์รวมมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางอภิชนา วงศ์วารเตชะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/04/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  90  คน
รายละเอียด  1. อธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี ผอ.สำนัก 2. คณะทำงานจัดทำโครงการศูนย์ธรรมชาติบำบัดและการแพทย์แผนไทย 3. รองคณบดีฝ่ายวิจัย หรือที่รับผิดชอบภารกิจด้านวิจัย 4. นักวิจัยและส่วนงานที่เกี่ยวข้อง 5. อาจารย์ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนวิชาการ ผู้เข้าร่วมโครงการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน คณะผลิตกรรมการเกษตร เงินรายได้ (ประจำปีงบประมาณ 2567) แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) 2567 28,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์
อาจารย์ วินัย  แสงแก้ว
อาจารย์ ดร. วาริน  สุทนต์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.4 ความสำเร็จในการพัฒนาหลักสูตรแพทย์แผนไทย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.4.1 ผลักดันและพัฒนาหลักสูตรด้านแพทย์แผนไทยของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67 AP 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (ุมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco. University) (Go. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67 AP 1.2.4 ความสำเร็จในการพัฒนาหลักสูตรแพทย์แผนไทย
กลยุทธ์ 67 AP 1.2.4.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ธรรมชาติบำบัดและการแพทย์แผนไทยภาพรวมของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

1. การแพทย์แผนไทย เป็นภูมิปัญญาซึ่งบรรพบุรุษของไทยได้สั่งสมสืบทอดกันมายาวนาน มีความพยายามในการธำรงรักษาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของชาติมาตั้งแต่อดีต มีการรวบรวมตำรายาที่ดีและจารึกไว้ในแผ่นหิน ประดับตามผนังศาลาวัดสำคัญต่างๆ เมื่อเริ่มมีการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาในประเทศไทย การแพทย์แผนไทยยังคงมีบทบาทในการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยมีการพัฒนาการแพทย์แผนไทยยุคใหม่ เรียกว่า “การแพทย์แผนไทยประยุกต์” คือการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์การแพทย์เข้ามาประยุกต์เพื่ออธิบายและพัฒนาการแพทย์แผนไทย ประกอบกับราชกิจจานุเบกษา วันที่ 4 มิ.ย.2564 เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2564 เพื่อให้การขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรในระบบบริการสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมภูมิปัญญาให้ได้รับการต่อยอดโดยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผ่านกลไกการเสริมและพัฒนายาจากสมุนไพร อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นการสร้างความมั่นคงทางยาให้กับประเทศ 2.มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร มากว่า 85 ปี และมีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศด้านการเกษตรระดับนานาชาติ และในปีพ.ศ. 2577 ที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีอายุครบ 100 ปี มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายที่จะเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิตที่มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture) มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญพื้นฐานด้านเทคโนโลยีการเกษตร และมีความพร้อมในด้านวิชาการเกษตรแบบองค์รวม ทั้งการปลูกพืชอินทรีย์มาตรฐาน IFOAM และ USDA ระบบการปลูกในโรงเรือนแบบสมาร์ทฟาร์ม การป้องกันศัตรูพืช วัสดุปลูก ธาตุอาหาร ในระบบอินทรีย์ รวมถึงการการเก็บเกี่ยว แปรรูปและบรรจุภัณฑ์ เห็นได้จากความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลด้านกัญชาและสมุนไพรต่างคุณภาพสูงในระบบเกษตรอินทรีย์ 3. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้ความสำคัญและขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านพืชสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยมาอย่างต่อเนื่อง และได้มีการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อสนับสนุนและพัฒนาการศึกษา วิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม สำหรับพืช “กัญชา”และพืชสมุนไพรอื่น เพื่อประโยชน์ทางราชการ การแพทย์ และ/หรือ การรักษาผู้ป่วยภายใต้กรอบและเงื่อนไขที่ถูกต้องและเป็นไปตามกฎหมาย ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรทุนมนุษย์ทางด้านเทคโนโลยีเชิงเกษตรกรรม (AgriTech) สมุนไพร การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก 4. ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงมีนโยบายในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทย โดยกำหนดเป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่มหาวิทยาลัยต้องดำเนินการ จึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ และจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทยขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และเกษตรสุขภาวะองค์รวมมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อระดมความคิดเห็นในการกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และเกษตรสุขภาวะองค์รวมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แผนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และเกษตรสุขภาวะองค์รวมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อร่างยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทยและแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 คน 90
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการจัดการสัมมนา
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แผนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และเกษตรสุขภาวะองค์รวมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน
ชื่อกิจกรรม :
จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และเกษตรสุขภาวะองค์รวมมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/04/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์  เครือคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วาริน  สุทนต์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คนๆละ 35 บาท 2 มื้อ 6,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 90 คนๆละ 120 บาท 1 มื้อ 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้บริการห้องประชุม และห้องอาหาร 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางวิทยากร 1 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 1200 บาท 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสุดสำนักงาน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล