21447 : โครงการ โครงการบูรณาการพลังงานทดแทนกับการทำนุบำรุงศาสนาและวัฒนธรรม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/3/2567 15:08:57
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  15  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย บุคลากร และนักศึกษาของวิทยาลัยพลังงานทดแทน จำนวน 15 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี 2567 งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี 2567 แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 20,000 บาท 2567 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เสริมสุข  บัวเจริญ
รองศาสตราจารย์ เสมอขวัญ  ตันติกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์  ธารารักษ์
นาง จิราพร  ดุษฎี
นาย นักรบ  กลัดกลีบ
นาย มงคล  จันโทภาส
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 67-2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บู 67-2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม เป็นภารกิจอีกภารกิจหนึ่งของวิทยาลัยพลังงานทดแทน ได้มีการจัดทำแผน สนับสนุนให้มีการสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมที่เป็นรากเหง้าของความเป็นไทย คุณค่า สภาพแวดล้อม สังคม ดังนั้น วิทยาลัยฯจึงให้มีการจัดโครงการบูรณาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน และการวิจัย ใน “กิจกรรมบูรณาการพลังงานทดแทนสร้างพลังปัญญาส่งเสริมพลังธรรม” กับรายรายวิชา รายวิชา พง202 ไฟฟ้าเบื้องต้น, พง 291 การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรม, 11503130 มาตรฐานความปลอดภัยทางวิศวกรรมอนุรักษ์พลังงาน และ11504120 การฝึกงานในโรงงานและมาตรฐานความปลอดภัย ประกอบไปด้วยหลักสูตรวิศวกรรมพลังงานทดแทน หลักสูตรวิศวกรรมการอนุรักษ์พลังงาน และหลักสูตรฟมาร์มอัจฉริยะและนวัตกรรมการเกษตร โดยเน้นให้นักศึกษาทุกหลักสูตรของวิทยาลัยพลังงานทดแทนมีส่วนร่วมในกิจกรรม “ ซึ่งโครงการบูรณาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน เป็นโครงการที่ยึดถือปฏิบัติ สืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามให้ดำรงอยู่ต่อไป โดยการอบรมการออกแบบระบบโซลาร์เซลล์ สำหรับเป็นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าแสงสว่าง ให้กับมูลนิธิสถานธรรมปฏิบัติธรรมปลีกวิเวก ซึ่งได้ดำเนินการสร้างถ้ำจำลองสำหรับปฏิบัติธรรมสำหรับครูบาบุญชุม และญาติโยมพุทธศาสนิกชน และนักเรียนนักศึกษาในอำเภอเวียงแหง และพื้นที่อื่นเพื่อใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมเผยแพร่ ธรรม วัฒนธรรม ประเพณี อันดี เป็นการสืบทอด กิจกรรมอันดีงามของชาวไทยพุทธอย่างต่อเนื่อง วิทยาลัยพลังงานทดแทนจึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒธรรมกับการเรียนการสอน โดยการมีส่วนร่วมในการใช้องค์ความรู้ของนักศึกษาวิทยาลัยพลังงานทดแทนประยุกต์ใช้ดำเนินกิจกรรม เพื่อความส่องสว่างสำหรับกิจกรรมทางพุทธศาสนา และลดรายจ่ายค่าไฟ และเชื้อเพลิง ทั้งนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทนนำนักศึกษาไปบูรณาการกับการเรียนการสอน ให้กับมูลนิธิสถานธรรมปลีกวิเวก ต.เวียงแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่ สนับสนุนส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมให้ยั่งยืนสืบต่อไป และจัดทำกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่วัดดอยแท่นพระผาหลวง จ.เชียงใหม่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อบูรณาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน โดยให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วม
เพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และปฏิบัติการประยุกต์ใช้และแลกเปลี่ยนความรู้ของนักศึกษา
เพื่อฝึกปฏิบัติการทำงานเป็นทีมของนักศึกษาทุกหลักสูตร
เพื่อเป็นการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามให้ดำรงอยู่ต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : - ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างจุดปั๊มน้ำ และปฏิบัติการ โซลาร์เซลล์ ณ มูลนิธิสถานธรรมปลีกวิเวก ต.เวียงแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : - ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างจุดปั๊มน้ำ และปฏิบัติการ โซลาร์เซลล์ ณ มูลนิธิสถานธรรมปลีกวิเวก ต.เวียงแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างจุดปั๊มน้ำ และปฏิบัติการ โซลาร์เซลล์ ณ มูลนิธิสถานธรรมปลีกวิเวก ต.เวียงแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสริมสุข  บัวเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ สายไฟ , สปอตไลท์,, กล่องเบรกเกอร์, กิ๊บเดินสาย, เบรกเกอร์ อุปกรณ์ชาร์จโซล่า ( solar charger),
อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล