21441 : โครงการพัฒนาฐานการเรียนรู้การผลิตหน้าวัวเพื่อการค้าและสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายชัยวิชิต เพชรศิลา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/3/2567 10:12:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร, เกษตรกรผู้ผลิตปาล์น้ำมัน, ประชาชนทั่วไป นักศึกษา และนักเรียน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินเหลือจ่ายเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2567 199,875.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.4 โครงการเพิ่มรายได้จากทรัพยากรแม่โจ้-ชุมพร
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 31. ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้จากการให้บริการวิชาการ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่มีพันธกิจในหลายมิติ 1. พัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong leaning) คุณธรรมจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม 2. ศึกษาและวิจัยด้านการเกษตรสุขภาวะ (well-being) เพื่อพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 3. ส่งเสริมการบริการวิชาการด้านการเกษตรเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ 4. ส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาระบบการบริหารให้มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และในปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งมหาลัยวิทยาลัยภาครัฐและเอกชน ต่างก็ประสบปัญหาด้านการรับนักศึกษาเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยที่ลดลง จึงทำให้มหาวิทยาลัยต่างๆ มีการแข่งขันที่สูงขึ้นจึงมีผลกระทบอย่างมากกับมหาวิทยาลัยขนาดเล็กโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนไม่มาก และมีจำนวนนักศึกษาเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่ลดลงส่งผลต่อรายได้ที่ลดลงตามไปด้วย และรายได้ก็ลดลงตามไปด้วยส่งผลต่อการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการในองค์กรไม่มีประสิทธิภาพจึงมีผลกระทบต่อทุกคนในองค์ที่จะต้องช่วยกันหารายได้ให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร โดยใช้องค์ความรู้ความเชี่ยวชาญที่แต่ละท่านได้ทำการวิจัย ศึกษาองค์ความรู้นั้นๆ เป็นที่ประจักษ์ จึงสามารถใช้องค์ความรู้นั้นๆ สร้างกิจกรรมหรือโครงการที่สามารถก่อให้เกิดรายได้ให้กับองค์กรได้จริง และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ในอดีตเมื่อปี 2544 มีการผลิตหน้าวัวเพื่อการค้าสามารถสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ได้อย่างชัดเจนกว่า 5,000,000 บาท ในงบลงทุน 3,000,000 บาท และในการนี้การผลิตหน้าวัวเพื่อการค้าเป็นโครงการหนึ่งที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร สนใจที่จะดำเนินการต่อเนื่อง และเป็นพื้นที่หนึ่งที่เหมาะสมต่อการผลิตหน้าวัวเพื่อการค้า และการบริการวิชาการฐานข้อมูลการผลิตหน้าวัวแก่ผู้ที่สนใจ นอกจากนั้นดอกหน้าวัวยังมีความต้องการของตลาด และมีตลาดรองรับอยู่แล้วสามารถส่งจำหน่ายผลผลิตได้ เช่น ตลาดปากคลองกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต และจังหวัดอื่นๆ ได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างรายได้ให้กับองค์กร (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร)
2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การผลิตหน้าวัวเพื่อการค้าให้กับเกษตรกร และผู้ที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รูปแบบการผลิตหน้าวัวเพื่อการค้าในสวนปาล์มน้ำมันที่ได้คุณภาพ
KPI 1 : คู่มือการผลิตหน้าวัวในสวนปาล์มน้ำมัน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เล่ม 5
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ผลผลิตดอกหน้าวัว
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.012 ดอก 0.012
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 20 คน 50
KPI 6 : พื้นที่ปลูกหน้าวัว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1.5 ไร่ 1.5
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.199875 บาท 0.199875
KPI 8 : จำนวนต้นพันธุ์หน้าวัวเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.003885 ต้น 0.003885
KPI 9 : รายได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.08 บาท 0.08
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รูปแบบการผลิตหน้าวัวเพื่อการค้าในสวนปาล์มน้ำมันที่ได้คุณภาพ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 1 : การจัดการโรงเรือนและแปลงปลูกหน้าวัวและการปรับปรุงวางแผนระบบการให้น้ำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 29/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไมเบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : จัดชื้อต้นพันธุ์หน้าวัว (ต้นกำลังให้ผลผลิต)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าต้นพันธุ์หน้าวัว จำนวน 3,885 ต้น ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 135,975 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 135,975.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,975.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 135975.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การปลูกหน้าวัวและการดูแลรักษาต้นหน้าวัว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าเปลือกมะพร้าวสับ จำนวน 150 กระสอบ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
- ค่าถ่านไม้ จำนวน 116 กระสอบ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 17,400 บาท
- ค่าปุ๋ยออสโมโค้ท สูตร 13–13-13 จำนวน 200 กิโลกรัม ๆ ละ 195 บาท เป็นเงิน 39,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 63,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 63,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 63900.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : ถ่ายทอดองค์ความรู้ และการจำน่ายผลผลิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ในช่วงระยะแรกกจะมีค่าใช้จ่ายที่สูงเนื่องชื้อต้นพันธุ์หน้าวัวจะมีผลต่อระยะแรกรายได้จะติดลบในช่วงปีแรกๆ และจะมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีที่ 2 – 6
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
การขยายพันธุ์หน้าวัวโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเองบางสายพันธุ์ที่สามารถกระทำได้ เพื่อลดต้นทุนการชื้อสายพันธุ์หน้าวัว
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ
ช่วงเวลา : 01/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล