21424 : โครงการศูนย์บริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.เบ็ญจา บำรุงเมือง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  บุคคลากร อาจารย์ นักศึกษา ศิษย์เก่าในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบุคคลภายนอกที่สนใจใช้บริการศูนย์บริการวิชาการ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี 2567 สำนักงานคณบดี แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรม สนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงาน บริหารมหาวิทยาลัย งาน บริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 6) โครงการศูนย์บริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตร 2567 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุธีระ  เหิมฮึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 67 AP 6.1 การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ตัวชี้วัด 67 AP 6.1.13 พัฒนาศูนย์บริการวิชาการคณะผลิตกรรมการ เกษตรให้มีความทันสมัย
กลยุทธ์ 67 AP 6.1.13.1 ปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานของผลิตกรรมการเกษตรให้ชัดเจนโดยความร่วมมือจากบุคลากรสังกัดศิษย์เก่าและเครือข่าย ให้เป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร อย่างเป็นระบบที่ทันสมัยยิ่งขึ้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยศูนย์ภายใต้งานบริการวิชาการของคณะผลิตกรรมการเกษตรในปัจจุบันทั้ง 9 ศูนย์ มีวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับพันธกิจทั้ง 4 ด้านแตกต่างกันไป ทั้งด้านการเรียนการสอน การพัฒนางานวิจัย การบริการวิชาการแก่บุคคลภายในและภายนอก ตลอดจนงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้น เพื่อให้มีการรวบรวมองค์ความรู้กรอบภาระหน้าที่ให้ง่ายต่อการติดต่อ การบริการแก่บุคคลากรภายนอก และภายในอย่างเป็นระบบและเป็นการกระจายภาระงานให้ถูกต้อง และเหมาะสมต่อพันธกิจของศูนย์ภายใต้ส่วนงานนั้น ๆ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาศูนย์บริการวิชาการคณะผลิตกรรมการเกษตรให้มีความทันสมัย ทั้งด้านการประสานงานศูนย์ภายใต้ส่วนงานต่าง ๆ บูรณาการกับบุคลากรในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับงานนั้น ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานหรือย่นระยะเวลาในการจัดการงานต่าง ๆ ได้มากขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริการวิชาการของคณะ
เพื่อสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สถานที่เพื่อฝึกอบรมงานบริการวิชาการสู่ชุมชน คณะผลิตกรรมการเกษตร และความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ
KPI 1 : จำนวนสถานที่ที่จัดฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แห่ง 1
KPI 2 : จำนวนความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 แห่ง 2
KPI 3 : จำนวนศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร และหน่วยงานอื่น ๆ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
9 ศูนย์ 9
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สถานที่เพื่อฝึกอบรมงานบริการวิชาการสู่ชุมชน คณะผลิตกรรมการเกษตร และความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ
ชื่อกิจกรรม :
ถ่ายทอดองค์ความรู้และบริการวิชาการสู่ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่ฝึกอบรมเพื่อบริการวิชาการสู่ชุมชน จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 12,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,400.00 บาท 12,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย (จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน) เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งานของศูนย์บริการวิชาการมีการจัดฝึกอบรมให้แก่ชุมชน แต่ยังขาดเรื่องการจัดสถานที่เพื่อใช้ในการฝึกอบรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต้องมีการจัดสถานที่เพื่ออำนวยความสะดวกในการจัดฝึกอบรม ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล