21422 : โครงการ เสริมศักยภาพด้านวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภายใต้การแลกเปลี่ยน Laboratory, Soil and water Conservation Department, National Pingtung of Science and Technology (NPUST), Pingtung, Taiwan
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/2/2567 9:23:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  4  คน
รายละเอียด  นักศึกษารหัส 66 สาขาวิชาการจัดการป่าไม้/โครงการจัดตั้งวิทยาลัยการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2567 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ  ขอนแก่น
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.4 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ (Inbound/ Outbound)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.4.1 เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ และนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.2 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
ตัวชี้วัด 67-6.2.2 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน/ฝึกอบรมชาวต่างชาติ (Inbound/ Outbound)
กลยุทธ์ 67-6.2.2.1 เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติและนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาวิขาการจัดการป่าไม้ โครงการจัดตั้งวิทยาลัยการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เริ่มเปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2562 ในระดับมหาบัณฑิตถือเป็นแห่งเดียวในภูมิภาคเหนือ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง และถือเป็นพื้นที่ที่มีทรัพยากรป่าไม้มากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย สาขาการจัดการป่าไม้จึงตอบโจทย์ในการจัดการทรัพยากรในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ การดำเนินกิจกรรมของสาขาเน้นการมีส่วนร่วมของนักศึกษา การฝึกปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตามกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้หลักการ Active Learning ในกระบวนการเรียนการสอน อีกทั้งการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันทั้งในด้านการพัฒนาการใช้ชีวิต การพัฒนาทางด้านนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีวิธีการจัดการป่าไม้ และสอดคล้องตามนโยบายการบริหารของรัฐบาลสนับสนุนการต่อยอดพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) สาขาวิขาการจัดการป่าไม้ โครงการจัดตั้งวิทยาลัยการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้จัดเสริมศักยภาพด้านวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภายใต้การแลกเปลี่ยน Laboratory, Soil and water Conservation Department, National Pingtung of Science and Technology (NPUST), Pingtung, Taiwan ซึ่งดำเนินงานตลอดช่วงปีงบประมาณ 2567 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ทั้งทางด้านภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ รวมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์การใช้ชีวิตในต่างประเทศ ประสบการณ์การเรียนการสอน เปิดโลกทัศน์ทางการศึกษาให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาโท อันจะสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและอาจารย์ในสาขาวิชา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอน และเปิดโลกการเรียนรู้นอกสถานที่
2. เพื่อสร้างความร่วมมือ เครือข่ายการทำงานด้านป่าไม้ในระดับนานาชาติ
3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการเรียนการสอนและการใช้ชีวิตในต่างประเทศให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาโท
4. เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานของส่วนงานด้านความเป็นนานาชาติ (International)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีประสบการณ์การแลกเปลี่ยนด้านวิจัยและป่าไม้ในระดับนานาชาติ
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน (Outbound)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 คน 4
KPI 2 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีประสบการณ์การแลกเปลี่ยนด้านวิจัยและป่าไม้ในระดับนานาชาติ
ชื่อกิจกรรม :
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาด้านงานวิจัย และการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการด้านป่าไม้ในระดับนานาชาติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ขาดงบประมาณในการสนับสนุนการจัดกิจกรรม
การดำเนินงานเอกสารมีหลายขั้นตอน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควรสนับสนุน จัดสรรงบประมาณเพื่อการสนับสนุนการจัดกิจกรรมในระดับนานาชาติ
ควรมีการเตรียมความพร้อมด้านการสื่อสาร ภาษา สำหรับการเดินทางไปต่างประเทศ
สนับสนุนการสร้างความสัมพันธ์ทางวิชาการด้านการสัมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละภาควิชา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล