21421 : โครงการเสริมศักยภาพด้านวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/2/2567 9:55:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการป่าไม้ รหัส 65, 66 และอาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการป่าไม้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ  ขอนแก่น
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-1 การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 67-1.3 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-1.3.7 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-1.3.7.2 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาวิขาการจัดการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เริ่มเปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2562 ในระดับมหาบัณฑิตถือเป็นแห่งเดียวในภูมิภาคเหนือ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง และถือเป็นพื้นที่ที่มีทรัพยากรป่าไม้มากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย สาขาการจัดการป่าไม้จึงตอบโจทย์ในการจัดการทรัพยากรในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ การดำเนินกิจกรรมของสาขาเน้นการมีส่วนร่วมของนักศึกษา การฝึกปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตามกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้หลักการ Active Learning ในกระบวนการเรียนการสอน อีกทั้งการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันทั้งในด้านการพัฒนาการใช้ชีวิต การพัฒนาทางด้านนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีวิธีการจัดการป่าไม้ และสอดคล้องตามนโยบายการบริหารของรัฐบาลสนับสนุนการต่อยอดพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) สาขาวิขาการจัดการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้จัดโครงการเสริมศักยภาพด้านวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งดำเนินงานตลอดช่วงปีงบประมาณ 2567 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ทั้งทางด้านภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ รวมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์การใช้ชีวิตในต่างประเทศ ประสบการณ์การเรียนการสอน เปิดโลกทัศน์ทางการศึกษาให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาโท อันจะสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและอาจารย์ในสาขาวิชา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอน และเปิดโลกการเรียนรู้นอกสถานที่
2. เพื่อสร้างความร่วมมือ เครือข่ายการทำงานด้านป่าไม้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีประสบการณ์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันตามกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
KPI 1 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 3 : จำนวนรายวิชาที่มีการบูรณาการร่วมกับโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 รายวิชา 5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีประสบการณ์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันตามกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
ชื่อกิจกรรม :
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาด้านงานวิจัยและการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการด้านป่าไม้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล