21409 : โครงการชีวนวัตกรรมดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/2/2567 9:21:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน รายรับจากการจำหน่ายดินปลูก จำนวน 480 ถุง ๆ ละ 10 บาท /( 1 ถุง = 3 กิโลกรัม) เป็นเงินทั้งสิ้น 4,800 บาท 2567 2,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร  จันทร์ฉาย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.3 เพิ่มรายได้ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรหน่วยงานในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานนั้น
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.4 ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
ตัวชี้วัด 67-6.4.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-6.4.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการชีวนวัตกรรมดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การใช้ทรัพยากร ทางการเกษตรอย่างคุ้มค่า เพื่อสร้างระบบเกษตรอย่างยั่งยืน มั่นคงและยั่งยืน และก่อให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และนักศึกษา โดยการนำวัสดุเหลือทิ้ง เช่น เศษใบไม้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ฯ และมูลสัตว์ โดยนำนวัตกรรมของ รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร จันทร์ฉาย คือ หัวเชื้อจุลินทรีย์ที่คัดแยกได้ มาผสมกับวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง เพื่อผลิตเป็นดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง และเป็นการลดการใช้ปุ๋ยเคมี ทำให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับหลัก BCG Model และยังเป็นการบูรณา การเรียนการสอนในรายวิชาดังต่อไปนี้ 1.ทช 211 เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร2 2.ผส 461 การจัดการของเสียปศุสัตว์ 3.ทช 311 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการหมัก 4.ทช 471 การใช้ประโยชน์จากของเสียและการบำบัดมลพิษทางชีวภาพ ซึ่งนักศึกษาในรายวิชาจะเป็นผู้ผลิตดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้งร่วมกับเหล่าคณาจารย์ และบุคลากรในมหาวิทยาลัย โดยมีงานอาคารสถานที่คอยรวบรวมเศษใบไม้ในมหาวิทยาลัยให้ บุคลากรในมหาวิทยาลัยร่วมเรียนรู้การผลิตดินปลูกสูตรพรีเมียม และช่วยกันประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการจำหน่ายดินปลูก ซึ่งดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้งที่ผลิตได้จะนำมาใช้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ฯ 20% และอีก 80% จะนำไปจำหน่ายโดยรายได้จากการจำหน่ายดินปลูก จะให้ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ฯ 2,800 บาท ซึ่งเป็นการลดรายจ่ายและ เพิ่มรายได้ให้มหาวิทยาลัย อันสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
2. เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรทางการเกษตรอย่างคุ้มค่า ยั่งยืน และมั่นคง
3. เพื่อก่อให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการชีวนวัตกรรมดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2000 บาท 2000
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของลูกค้า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : จำนวนดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1440 กิโลกรัม 1440
KPI 5 : จำนวนเงินรายได้ที่เกิดจากการบริการวิชาการคงเหลือ (กำไรสุทธิ) ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2800 บาท 2800
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการชีวนวัตกรรมดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง
ชื่อกิจกรรม :
ชีวนวัตกรรมดินปลูกสูตรพรีเมียมจากวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร  จันทร์ฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญาพร  อายุมั่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เอกอาทิตย์  ฤทธิเดชยิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยคอก ฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล