21395 : SAS-67 โครงการส่งเสริมศักยภาพวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนิตยา ไพยารมณ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/02/2567  ถึง  15/03/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  90  คน
รายละเอียด  อาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ผู้นำชุมชน แกนนำกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน จำนวน 90 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้วิทยาลัยบริหารศาสตร์ 2567 23,900.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร  แสงสุโพธิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-68 (3) บริการวิชาการด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การระหว่างประเทศ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารกิจการสังคม
เป้าประสงค์ SAS 64-68 (3.1) มีผลงานบริการวิชาการตามจุดเน้นของวิทยาลัย
ตัวชี้วัด SAS 67 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ SAS สนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม ในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ของคณาจารย์ ตลอดจนการฝึกประสบการณ์ทำงานของนักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ได้ดำเนินโครงการบริการวิชาการ หัวข้อ “โครงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งเชิงบูรณาการอย่างเป็นระบบบนฐานพื้นที่อำเภอสันทราย” หรือ เรียกชื่อย่อว่า “โครงการสันทรายโมเดล” ในปี 2561 – 2562 ที่ผ่านมา ซึ่งผลจากการดำเนินโครงการดังกล่าว เกิดการพัฒนาศักยภาพผู้นำในทุกภาคส่วนในอำเภอสันทราย เกิดกลุ่มองค์กรความร่วมมือ ทั้งกลุ่มด้านการเกษตร กลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชน กลุ่มสุขภาพชุมชน กลุ่มชุมชนต้นแบบ และเกิดโมเดลในการพัฒนา 10 โมเดล ตลอดจนเกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม ทั้งนี้ทุกภาคส่วนต่างบริหารจัดการและพัฒนาชุมชนโดยใช้ทุนทางสังคมเป็นฐานในการพัฒนา จากองค์ความรู้ในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากดังกล่าว คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการจึงเห็นความสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น โดยใช้ทุนชุมชนเป็นฐาน อาทิ ทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมชุมชนและเศรษฐกิจชุมชนเป็นต้น วิทยาลัยมีนโยบายในการขยายการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งไปยังชุมชนที่มีศักยภาพ แต่ยังขาดโอกาส ประกอบกับ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ได้ขอความอนุเคราะห์องค์ความรู้ในการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยใช้ทุนทางด้านทรัพยากรธรรมชาติมาเพิ่มมูลค่าพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน ในการนี้ คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ จึงเห็นควร จัดโครงการ “เสริมสร้างศักยภาพวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน” ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 2567 โดยจะจัดกิจกรรมเสวนา ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08.30 น. – 16.30 น. ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ตลอดจน นำตัวแทนนักศึกษาในรายวิชา 11404224 ชุมชนกับการบริหารทรัพยากร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต จำนวน 4 คน ไปร่วมแลกเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน ด้วยการบริหารจัดการทรัพยากรในชุมชนมาทำเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า ที่ตอบโจทย์ของชุมชนปัจจุบันและคนรุ่นใหม่ ตลอดจนร่วมถ่ายทอดการปฏิบัติการทำผลิตผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาจากทรัพยากรในชุมชนที่มีจำนวนมาก อาทิ กล้วย และ ขมิ้น พัฒนาเป็น กล้วยผง และ เซรั่มขมิ้น เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของ ต่อไป ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในตำบลเชียงของมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยทรัพยากรในชุมชนเพื่อความยั่งยืน และให้นักศึกษาได้เรียนรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน แลกเปลี่ยนความเห็นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาในการเป็นผู้ประกอบการ เป็นต้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้วยทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน
เพื่อให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ในรายวิชาชุมชนกับการบริหารทรัพยากรไปปรับประยุกต์ใช้ในชุมชนและชีวิตประจำวันได้มากขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้วยทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนและนักศึกษาได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าจากทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้วยทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืนและนักศึกษาได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
เสวนาและทดลองปฏิบัติหัวข้อ "การพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้วยทุนทางทรัพยากรชุมชนเพื่อความเข้มแข็งและยั่งยืน"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/02/2567 - 24/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถาพร  แสงสุโพธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 90 คนๆละ 120 บาท รวมเป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 มื้อ ๆละ 90 คนๆ ละ 35 บาท รวมเป็นเงิน 6,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 2 คืนๆ คืนละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (รถกระบะ 4 ประตู) ไป-กลับ จำนวน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าวิทยากร(บุคคลภายนอก) จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
วบศ67-กำหนดการ 22-24 ก.พ. 67
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล