21370 : โครงการแรงแลกเรียน 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.กัลย์ชิสา นามวงศ์พรหม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2566  ถึง  31/05/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป (มิติที่ 6 โครงการแรงแลกเรียน) 2567 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรพินธุ์  สฤษดิ์นำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ธีรนุช  เจริญกิจ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67 AP 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67 AP 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 67 AP 6.1 การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ตัวชี้วัด 67 AP 6.1.26 โครงการพัฒนานักศึกษาหารายได้ระหว่างเรียน “โครงการแรงแลกเรียน”
กลยุทธ์ 67 AP 6.1.26.1 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมหรือกระบวนการพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการ และหารายได้ระหว่างเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการแรงแลกเรียนเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการของคณะผลิตกรรมการเกษตร สนับสนุนงบประมาณ จัด 3 กิจกรรม ได้แก่ 1. ชมรมยุวเกษตร เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เพื่อขายไข่ และเรียนรู้วิธีการจัดการฟาร์ม 2. กลุ่มต้นกล้าแก่นตะวัน เพาะเลี้ยงและขายผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากต้นแก่นตะวัน และ 3. ทีมต้นพันธุ์ไม้ผล เพาะเลี้ยงและขายกล้าไม้ผล ผลไม้ต่างๆ นักศึกษาจะได้เรียนรู้ทักษะต่างๆที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ผ่านกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาตามแนวทางการลงมือปฏิบัติงานจริงในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยจะได้รับการฝึกฝนทักษะการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ให้มีความชำนาญ ในปริมาณที่เหมาะสม สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตผล อาทิ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การจัดทำบรรจุภัณฑ์ การตลาด หลักการขายสินค้าให้ได้กำไร และทักษะอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาช่วยกำกับดูแลให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาเข้าใจองค์ความรู้ ทักษะแนวคิดการเป็นเจ้าของสินค้าและผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังเป็นการฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม ความเป็นผู้นำ และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาเตรียมตัวสำหรับการเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้ดียิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตรได้พัฒนาทักษะด้านการเกษตรเพื่อประกอบเป็นอาชีพ
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ และสามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ทีมงาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อการเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ และสามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ทีมงาน
KPI 1 : ระดับที่นักศึกษาเข้าใจทักษะการเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพจากการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.5 ระดับ 3.5
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมเป็นทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : ระดับที่นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.5 ระดับ 3.5
KPI 4 : ระดับที่นักศึกษาเข้าใจองค์ความรู้วิชาการเกษตรที่เกี่ยวข้อง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.5 ระดับ 3.5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อการเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ และสามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ทีมงาน
ชื่อกิจกรรม :
1. ชมรมยุวเกษตร บริหารจัดการพื้นที่ เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการแรงแลกเรียนได้ขายของ ณ พื้นที่บริเวณร้านนมเกษตร หน้าอาคารรัตนโกสินทร์ 200 ปี คณะผลิตกรรมการเกษตร ชื่อกิจกรรม "กาดนัดเด็กเกษตร ผลิตรักษ์บัณฑิต " วันที่ 15 - 19 ก.พ. 2567

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 31/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วงค์พันธ์  พรหมวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาจัดสถานที่ กิจกรรม "กาดนัดเด็กเกษตร ผลิตรักษ์บัณฑิต"
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร นักศึกษา จำนวน 5 วัน x วันละ 10 คน x คนละ 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ชื่อกิจกรรม :
2. กลุ่มต้นกล้าแก่นตะวัน เพาะเลี้ยงและขายผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากต้นแก่นตะวัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 31/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี  พุทธา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร นักศึกษา จำนวน 5 วัน x วันละ 10 คน x คนละ 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,940.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,940.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ชื่อกิจกรรม :
3. ทีมต้นพันธุ์ไม้ผล เพาะเลี้ยงและขายกล้าไม้ผล ผลไม้ต่างๆ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 31/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.อำพล  สอนสระเกษ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร นักศึกษา จำนวน 5 วัน x วันละ 10 คน x คนละ 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ชื่อกิจกรรม :
4. ชมรมยุวเกษตรพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการเลี้ยงเป็ดเลี้ยงไก่เพื่อขายไข่และเรียนรู้วิธีการจัดการฟาร์ม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วงค์พันธ์  พรหมวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช่งบประมาณในโครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
5. ส่งเสริมให้นักศึกษารับบริการจัดการพื้นที่เพาะปลูก เช่น แปลงผัก , สวนดอกไม้ ,แปลงไม้ผล ฯลฯ / รับจ้างทั่วไปในเชิงการเกษตร เช่น ปรับปรุงดิน แผ้วถาง กำจัดวัชพืช ฯลฯ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรพินธุ์  สฤษดิ์นำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อำพล  สอนสระเกษ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณโครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
กลุ่มนักศึกษาได้มีการดำเนินงานเบื้องต้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพาะเลี้ยงพืช-สัตว์ ตั้งแต่ช่วงเดือน พ.ย.2566 ก่อนการได้รับมติการสนับสนุนงบประมาณจัดโครงการแรงแลกเรียน
นักศึกษาที่ต้องการเข้าร่วมโครงการมีจำนวนมาก แต่ทางแหล่งงบมีเงินสนับสนุนจำกัด ทำให้ไม่สามารถให้เงินทุนแก่นักศึกษาได้ทั่วถึงและเพียงพอ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ดำเนินงานโดยไม่ใช้งบประมาณโครงการ เมื่อได้มติอนุมัติงบประมาณแล้วให้จัดทำขออนุมัติโครงการให้สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินงาน และรายงานตามการปฏิบัติงานจริง ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่วางไว้
คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการที่สามารถทำกิจกรรมพัฒนาตนเองด้านการเป็นผู้ผลิตและเป็นผู้ประกอบการได้ดี และให้มีอาจารย์ที่ปรึกษากำกับดูแลอย่างใกล้ชิด เข้าร่วมโครงการ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล